One month
อ่าน

พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ: หนึ่งเดือนหลังใช้ “ยาแรง” เราเห็นอะไรบ้าง

นับตั้งแต่ 26 มีนาคม 2563 จนถึง 11 พฤษภาคม 2563 เป็นเวลากว่าหนึ่งเดือนเศษที่รัฐบาล 'คสช.2' เลือกใช้ "ยาแรง" อย่าง พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ หลังการประกาศใช้มาร่วมหนึ่งเดือนสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค "ดูดีขึ้น" จากตัวเลขผู้ติดเชื้อรายวันที่น้อยลง แต่คำถามถึงความจำเป็นในการบังคับใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ และเหตุผลเบื้องลึกเบื้องหลังของการใช้ยังไม่จางหายไป
กู้เงิน
อ่าน

พ.ร.ก.กู้เงินฯ: ช่องทางหาเงินพิเศษของรัฐบาลที่ต้องจับตา

เพื่อแก้ปัญหาวิกฤติเศรษฐกิจรวมถึงการรับมือกับปัญหาทั้งหมดทั้งมวลที่เกิดขึ้นภายหลังการระบาดของโคโรน่าไวรัสสายพันธ์ุใหม่ หรือ “โควิด-19” รัฐบาล คสช.2 เตรียมออกมาตรการกู้เงินพิเศษอย่างน้อย 1 ล้านล้านบาท โดยสิ่งที่น่าสนใจ คือ การกู้เงินดังกล่าวจะเป็นการใช้ “ช่องทางพิเศษ” ตาม พ.ร.บ.วินัยการเงินการคลังของรัฐ ซึ่งมีข้อจำกัดในการตรวจสอบแก้ไขวงเงินกู้ที่รัฐบาลต้องใช้ว่ามีความเหมาะสมหรือไม่
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ.สภาพัฒน์ ใหม่ เปิดทางให้คสช. ยึดสภาพัฒน์-การทำแผนพัฒนาต้องสอดคล้องยุทธศาสตร์คสช.

ร่าง พ.ร.บ.สภาพัฒน์ เป็นร่างที่พัฒนาต่อยอดมาจาก ร่าง พ.ร.บ.พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ที่ผ่านความเห็นชอบจาก ครม. ตั้งแต่ 16 มกราคม 2561 ก่อนจะแก้ไขเพิ่มเติมและ “กลายร่าง” มาเป็นร่าง พ.ร.บ.สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ