protest-2-1
อ่าน

พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ: กรุงเทพฯสีฟ้า นำร่องท่องเที่ยว จัดชุมนุมได้ ถ้าไม่ใช่แออัด หรือก่อความไม่สงบ

นับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2565 ถึงวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2565 มีการจัดชุมนุมสาธารณะอย่างน้อย 10 ครั้งในพื้นที่กรุงเทพมหานคร แทบทุกครั้งตำรวจและฝ่ายความมั่นคงยังพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 หรือ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ เพื่อห้ามไม่ให้มีการชุมนุม โดยอ้างว่าก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อการแพร่โรค และนำไปสู่ปฏิบัติการปิดกั้นขัดขวางการใช้เสรีภาพในการชุมนุมของประชาชน อย่างไรก็ดี ตามคำสั่ง ศบค.
white bow
อ่าน

แนวปฏิบัติในการดูแลการชุมนุมสาธารณะในพื้นที่สถาบันการศึกษาของรัฐตามหลักสากล

อ.ดร.พัชร์ นิยมศิลป เขียนบทความอธิบายหลักการสากลที่คุ้มครองเสรีภาพในการชุมนุม สิ่งที่สถานศึกษาควรจะทำเพื่ออำนวยความสะดวกให้การชุมนุม โดยไม่ต้องแจ้งล่วงหน้า พร้อมย้ำ หากสถานศึกษาไม่ให้ใช้สถานที่เท่ากับผลักเยาวชนออกไปถูกดำเนินคดีตาม พ.ร.บ.ชุมนุมฯ
CU prohibition
อ่าน

กับดักเงื่อนไข “การชุมนุมต้องอยู่ภายใต้กรอบแห่งรัฐธรรมนูญและกฎหมาย รักษาไว้ซึ่งความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดี และเป็นกิจกรรมที่ได้รับอนุญาต”

บทความจาก อ.ดร.พัชร์ นิยมศิลป คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เขียนวิเคราะห์ประกาศของสำนักบริหารกิจการนิสิต ที่ไม่อนุมัติให้จัดกิจกรรม โดยอ้างว่า การชุมนุมต้องอยู่ภายใต้กรอบของกฎหมายและรัฐธรรมนูญ  
unnamed
อ่าน

ตร.เตือนสหภาพนักเรียนนักศึกษาฯ ระวังขัด พ.ร.บ.ชุมนุมฯ ทั้งที่ พ.ร.บ.ชุมนุมฯ ไม่ใช้กับพื้นที่สถานศึกษา

ตำรวจขอให้นักศึกษา มธ.ที่จัดการชุมนุมในมหาวิทยาลัยคำนึงถึง พ.ร.บ.ชุมนุมฯ ทั้งที่พ.ร.บ.ดังกล่าวไม่ใช้บังคับกับการชุมนุมในสถานศึกษา
อ่าน

กฎหมายหอพัก: เป็นหูเป็นตาให้รัฐเพื่อแลกสิทธิประโยชน์

คุณพ่อคุณแม่อาจจะสบายใจขึ้น เมื่อแก้ไขกฎหมายหอพักให้มีการจัดการหอพักอย่างรัดกุมและเคร่งครัด แถมผู้ประกอบการยังยิ้มได้ เพราะหากทำตามที่รัฐขอก็อาจจะได้สิทธิประโยชน์ทางภาษีและอื่นๆ อีก เรียกได้ว่า เด็กๆ จะมีผู้ช่วยปกครองอยู่ด้วยภายในหอ