53236588986_eaed3fbfea_o
อ่าน

รวมคดีประชาชนสู้กลับ ฟ้องเพิกถอนข้อกำหนด ‘ห้ามชุมนุม’ ตามพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ

เครือข่าย People Go ฟ้องเพิกถอนข้อกำหนด “ห้ามชุมนุม” อ้างจำกัดสิทธิเสรีภาพจนเกินสมควรแก่เหตุ   คำขอ : เพิกถอนการขยายเวลาประกาศใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ และเพิกถอนข้อกำหนดตามพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ฉบับที่ 1
50511411538_b54af704d8_c
อ่าน

สรุปคำฟ้อง เพิกถอนสถานการณ์ฉุกเฉิน ยื่นโดยนิสิต นักศึกษา

วันนี้ (21 ตุลาคม 2563) เวลาประมาณ 10.30 น. นิสิต นักศึกษาจำนวน 6 คน พร้อมด้วยเครือข่ายทนายความสิทธิมนุษยชน ได้เดินทางไปยื่นฟ้องต่อศาลแพ่ง รัชดา เพื่อขอให้ศาลมีคำสั่งเพิกถอนประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรง รวมทั้งประกาศและคำสั่งที่เกี่ยวข้องทั้งหมด และยื่นขอคุ้มครองชั่วคราวพร้อมทั้งขอไต่สวนฉุกเฉิน
พรกฉุกเฉิน
อ่าน

แถลงการณ์ คณาจารย์คณะนิติศาสตร์ เรื่อง เรียกร้องให้ยกเลิกประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรง

คณาจารย์คณะนิติศาสตร์ ออกแถลงการณ์เรื่อง เรียกร้องให้ยกเลิกประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรงในเขตท้องที่กรุงเทพมหานครเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2563 
France
อ่าน

รับมือโควิดในฝรั่งเศส: ยกเลิกสถานการณ์ฉุกเฉินแล้ว ชุมนุมประท้วงทำได้

14 กรกฎาคม 2563 ประเทศฝรั่งเศสได้ยกเลิกสถานการณ์ฉุกเฉินทางสาธารณสุข และผ่อนปรนให้เปิดสนามกีฬา โรงมหรสพ ฯลฯ รวมถึงให้ชุมนุมประท้วงได้ แต่ยังคงมาตรการรัฐบางอย่างเพื่อป้องกันโรคระบาดอยู่ เช่น ให้สวมใส่หน้ากากอนามัย ปิดผับ และห้ามฝึกกีฬาต่อสู้
AJ PAT
อ่าน

พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ยาแรงที่ไม่แก้โควิด 19

อ.ดร.พัชร์ นิยมศิลป คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ชวนพิจารณามุมมองทางกฎหมายว่า การประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินนั้นจำเป็นหรือไม่และทำไมเราจึงไม่ควรพึ่ง พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ในการแก้วิกฤติโควิด 19  ชี้เราตกอยู่ในสภาพ “ถูกกฎหมายแต่ผิดหลักการ”
clean
อ่าน

18 วันไม่พบผู้ติดเชื้อในประเทศ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ หมดหน้าที่

ข้อมูลผู้ติดเชื้อตั้งแต่ 27 พฤษภาคม 2563 รวมทั้งสิ้นจำนวน 84 คน เป็นผู้ที่เดินทางกลับจากต่างประเทศทั้งสิ้น ดังนั้น มาตรการต่างๆ ที่จำกัดการใช้ชีวิตของประชาชนภายในประเทศ เช่น เคอร์ฟิว การปิดโรงเรียนและสถานศึกษา การจำกัดจำนวนคนเข้าใช้บริการในร้านอาหาร จึงไม่มีความจำเป็นเพื่อการควบคุมโรคอีกต่อไป 
Law's problem on Covid-19
อ่าน

ปัญหาทางกฎหมาย กรณี พล.อ.ประยุทธ์ ใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ รับมือโควิด 19

พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ เป็น "ยาแรง" เพื่อรับมือกับโควิด 19 โดยรวบอำนาจการแก้ไขปัญหามาอยู่ในมือของนายกรัฐมนตรี ออกข้อกำหนดรวมแล้วหกฉบับ กำหนดข้อห้าม เงื่อนไข คำแนะนำ สิ่งที่อนุญาตให้ทำได้ รวมทั้งมอบหมายอำนาจให้กับตำแหน่งต่างๆ ซึ่งมีปัญหาในทางกฎหมายต้องพิจารณากันว่าถูกต้องและใช้ให้มีผลในทางกฎหมายได้อย่างไร
Emergency Decree revocation
อ่าน

ประกาศ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ห้าในหกครั้ง ยกเลิกทันทีเมื่อเหตุจำเป็นสิ้นสุดแล้ว

พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ยุคโควิด 19 ถูกประกาศใช้ตั้งแต่ปลายเดือนมีนาคมและจะมีผลบังคับใช้ไปจนถึงสิ้นเดือนพฤษภาคม ในขณะที่ยังไม่มีความชัดเจนว่า พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ จะถูกยกเลิกเมื่อใด การย้อนไปดูการประกาศใช้กฎหมายนี้ในครั้งก่อนๆ ว่าการยกเลิกเกิดขึ้นช้าหรือเร็วและด้วยเงื่อนไขใดจึงน่าจะมีประโยชน์ต่อการวิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบันอยู่ไม่น้อย 
Covid World
อ่าน

เปรียบเทียบมาตรการรับมือโควิดของไทย กับของชาวโลก

ระหว่างที่สังคมโลกกำลังเผชิญหน้ากับวิกฤตการณ์โควิด 19 แต่ละประเทศก็ตัดสินใจใช้แนวนโยบายที่แตกต่างกัน แนวทางแบบใดที่จะถือว่าประสบความสำเร็จอย่างแท้จริง คงต้องพิจารณากันในระยะยาว ระหว่างนี้การเหลียวมองการตัดสินใจของประเทศอื่นๆ และผลที่เกิดขึ้น ก็เป็นสิ่งที่ควรพิจารณาเรียนรู้ไปพร้อมๆ กัน