52629865637_bc9af6db90_o
อ่าน

RECAP : ย้อนที่มาการถอนประกัน-อดอาหารแลกเสรีภาพของ #ตะวันแบม

 “ตะวันมีอาการหัวใจจะหยุดเต้นจากการขาดโพแทสเซียม” คำชี้แจงล่าสุดกรณีการอดอาหารและน้ำของตะวัน-ทานตะวัน และแบม-อรวรรณ ในช่วงค่ำ ของวันที่ 25 มกราคม 2566 ทั้ง
52499161435_a388cb31fe_o
อ่าน

RECAP 112 : ชวนรู้จักคดี “พรชัย” หนุ่มปกาเกอะญอที่เดินทางไกล “ขึ้นเหนือ-ล่องใต้”

ชวนรู้จักกับจำเลยคดีมาตรา 112 คนสำคัญ ที่ชะตาชีวิตของเขาไม่ง่าย ภายใต้ชีวิตที่ต้องสู้ ต้องทำมาหากิน ก็ต้องมาตกเป็นจำเลยคดีที่สำคัญของยุคสมัยแถมเป็นคดี “ทางไกล” ที่สร้างภาระในชีวิตถึงสองคดี ต้องผ่านการเข้าเรือนจำ การอดอาหารประท้วงในเรือนจำ การติดโควิดในเรือนจำ และเส้นทางคดีของเขาข้างหน้ายังอาจมีเรือนจำรออยู่ (1) พรชัย หรือชื่อเล่นที่เขาตั้งให้ตัวเอง คือ มาริโอ้ พื้นเพเป็นชาติพันธุ์ปกาเกอะญอ เกิดและเติบโตในอำเภอแม่ลาน้อย จังหวัดแม่ฮ่องสอน เมื่อโตขึ้น พรชัยเดินทางเข้าไปใช้ชีวิตและแสวงหา “อนาคต” ในกรุงเทพมหานคร และใช้ชีวิตในเมืองหลวงเป็นหลักต่อเนื่องมากว่า 20 ปี&nbs
289523339_10166697691275551_4655570835790618481_n
อ่าน

ปิยบุตรรายงานตัวคดีม. 112 ยันทวีตปฏิรูปสถาบันฯ ไม่ผิดกฎหมาย

20 มิถุนายน 2565 รศ.ดร.ปิยบุตร แสงกนกกุล เลขาธิการคณะก้าวหน้านัดหมายเข้ารายงานตัวต่อพนักงานสอบสวนสน.ดุสิต ในคดีตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 โดยคดีนี้มีผู้ร้องทุกข์คือ เทพมนตรี ลิมปพยอม บรรยากาศตั้งแต่เวลา 8.45 น. ที่หน้าสน.ดุสิตมีประชาชน, ส.ส.พรรคก้าวไกล และทีมงานคณะก้าวหน้าจังหวัดต่างๆ ประมาณ 50 คน มาร่วมให้กำลังใจ รวมทั้งยังมีกลุ่มเคลื่อนไหวอิสระตั้งโต๊ะเชิญชวน ลงชื่อยกเลิกมาตรา 112 ขณะที่ตำรวจมีการกั้นแผงเหล็กและวางกำลังที่ด้านหน้าทางเข้าสน. ต่อมาเวลา 10.00 น.
273656062_10166325281825551_1108187738702047034_n
อ่าน

“ใบปอ” นักเคลื่อนไหวหน้าใหม่ เปิดพื้นที่ถกปฏิรูปสถาบันกษัตริย์

ไม่กี่เดือนที่ผ่านมาปรากฏการเคลื่อนไหวของกลุ่มนักกิจกรรมกลุ่มใหม่ชื่อว่า “ทะลุวัง” ซึ่งทำกิจกรรมเน้นรูปแบบสอบถามความคิดเห็นหรือโพลแบบง่ายๆ ว่า เห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการปฏิรูปสถาบันกษัตริย์ “ใบปอ” นักศึกษาชั้นปีที่หนึ่ง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นหนึ่งในสมาชิกกลุ่มดังกล่าว ก่อนที่จะสังกัดกลุ่ม “ทะลุวัง” เธอเริ่มเคลื่อนไหวในเดือนธันวาคม 2564 ตามสถานที่ต่างๆ เช่น ห้างสรรพสินค้าและพื้นที่
51845763333_e4f88d279d_w
อ่าน

อาลีฟ วีรภาพ: ว่าที่คุณพ่อกับทางวิบากหมายเลข 112

วีรภาพ วงษ์สมาน หรือ อาลีฟ ชายหนุ่มชาวกรุงเทพมหานครวัย 19 ปี น่าจะเป็นหนึ่งในผู้ชุมนุมที่ถูกเจ้าหน้าที่ควบคุมฝูงชนหมายหัวว่าเป็นพวกตัวอันตรายสายบวกที่ต้องจัดการอย่างเด็ดขาด อาลีฟเป็นคนผิวคล้ำ ไว้หนวดและเคยไว้ผมหยิกยาว เวลาที่เขาอยู่แนวหน้าของผู้ชุมนุม เขามักตะโกนต่อว่าหรือท้าทายตำรวจจึงไม่ยากที่เจ้าหน้าที่จะชิงตีตราไปแล้วว่าเขาเป็นพวกชอบก่อความวุ่นวายไม่มีงานทำ แต่หากใครมีโอกาสใช้เวลาพูดคุยกับเขา ทำความรู้จักกับเขาให้มากขึ้น เชื่อว่าความเข้าใจของใครหลายคนที่เคยมีกับเขาน่าจะเปลี่ยนไป. ครอบครัวของอาลีฟเป็นครอบครัวของผู้ใช้แรงงาน แม่ของเขาเป็นแม่บ้านคอยดูแลบ้านและล
51565955459_f93570dd57_o
อ่าน

มาตรา 112: ทางเลือกและทางออกของสังคมไทย

ปัญหาจากตัวบทกฎหมายของประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 112 ที่ทำให้ขอบเขตการตีความเพื่อจำกัดเสรีภาพในการแสดงออกเป็นไปอย่างกว้างขวาง ทำให้กฎหมายที่ควรจะมีหน้าที่ในการผดุงความยุติธรรม กลับกลายเป็นเครื่องมือในการจำกัดสิทธิเสรีภาพในการแสดงออกทางการเมือง  ดังนั้น คำถามสำคัญแห่งยุคสมัย คือ เรามีทางออกหรือทางเลือกในสถานการณ์นี้หรือไม่ ในบทความนี้จึงรวบรวมข้อมูลและอยากชวนทุกคนทบทวนข้อเสนอเกี่ยวกับการแก้ไขหรือยกเลิกมาตรา 112 เท่าที่ปรากฏออกมาสู่สาธารณะ ด้วยความหวังว่าจะนำไปสู่ข้อยุติและแนวทางแก้ปัญหาความอยุติธรรมในนามของความจงรักภักดี &nbs
181265007_10165366883335551_3461010818799640076_n
อ่าน

มาตรา 112 ใช้แตกต่างกันไปตามสถานการณ์การเมือง

แม้ในทางกฎหมาย องค์พระมหากษัตริย์ของไทยอยู่ในฐานะประมุขแห่งรัฐ สถาบันพระมหากษัตริย์ดำรงอยู่ในฐานะสัญลักษณ์แห่งรัฐและอยู่พ้นไปจากความขัดแย้งทางการเมือง แต่การเกิดขึ้นของคดีมาตรา 112 กลับดูจะมีความสัมพันธ์อยู่ไม่น้อยกับสถานการณ์ทางการเมือง โดยเฉพาะอย่างยิ่งตั้งแต่ช่วงการรัฐประหาร 2549 เป็นต้นมา เมื่อสถานการณ์ความขัดแย้งทางการเมืองทวีความเข้มข้นหรือตึงเครียดขึ้น การชุมนุมประท้วง การแสดงความคิดเห็นในประเด็นสถาบันพระมหากษัตริย์ก็จะตามมา และนำมาซึ่งปริมาณคดีความ
อ่าน

เรื่องของศาล : สัมผัสทางสายตา

เรื่องเล่าเบาๆ ประเด็นความแตกต่างระหว่าง ศาลพลเรือนและศาลทหาร ที่ใกล้ตัวเรามากขึ้นทุกวันอย่างนี้ก็เห็นจากในข่าวนั่นแหละ