52504446322_4ca378568c_o
อ่าน

RECAP 112: ชวนรู้จักสิทธิโชค ไรเดอร์ส่งอาหารจุดประเด็น #แบนFoodpanda

(1) ย้อนกลับไปในการชุมนุมของเยาวชนปลดแอกเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม 2564 ผู้ชุมนุมต้องการเคลื่อนขบวนไปทำเนียบรัฐบาลผ่านแยกผ่านฟ้า แต่ตำรวจตั้งแถวปิดและใช้กำลังให้ผู้ชุมนุมถอย หลากหลายเหตุการณ์เกิดขึ้นทับซ้อนกัน ไม่ว่าจะสื่อถูกยิงด้วยกระสุนยางที่ต้นขาโดยไม่มีการแจ้งเตือน ภาพใบหน้าโชกเลือดของเด็กหนุ่มที่ถูกตำรวจยิงด้วยกระสุนยาง การฉีดน้ำแรงดันสูงและแก๊สน้ำตาขับไล่ผู้ชุมนุมให้ไปทางถนนนครสวรรค์ คล้อยหลังที่ผู้ชุมนุมเคลื่อนขบวนไป ช่วงเย็นมีเหตุเพลิงไหม้บริเวณใกล้กับแยกผ่านฟ้าอย่างน้อยสามจุด หนึ่งในนั้นคือ ใต้ฐานซุ้มพระบรมฉายาลักษณ์รัชกาลท
Public Hearing
อ่าน

การพิจารณาคดีโดยเปิดเผย: กลไกตรวจสอบอำนาจตุลาการโดยประชาชน

การพิจารณาคดีโดยเปิดเผย (Public Trial) มาคู่กันเสมอกับสิทธิการเข้าถึงการพิจารณาคดีที่เป็นธรรม (Right to a Fair Trial) ครอบครัว ญาติ เพื่อนฝูง องค์กรด้านสิทธิมนุษยชน สื่อมวลชน หรือประชาชนคนทั่วไป ต้องสามารถเข้าไปร่วมรับฟังกระบวนการไต่สวนในศาลได้    
Court's Allowance
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการศาลยุติธรรม: แก้ไขกฎหมายชัดขึ้นให้ “ผู้พิพากษาบริหาร” กำหนดเบี้ยประชุม

วันที่ 25 ตุลาคม 2561 ที่ประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) รับหลักการ ร่าง พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการศาลยุติธรรม (ฉบับที่ ….) ด้วยคะแนนเห็นชอบ 181 เสียง ไม่เห็นชอบ 0 เสียง เหตุผลของการเสนอ ร่าง พ.ร.บ.ฉบับนี้ คือ การเพิ่มอำนาจหน้าที่ให้คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม (ก.บ.ศ.) ให้สามารถออกระเบียบกำหนดเบี้ยประชุมสำหรับข้าราชการตุลาการซึ่งเข้าร่วมการประชุมใหญ่ในศาลชั้นอุทธรณ์หรือศาลฎีกา ทั้งนี้เพื่อให้สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญ 2560 มาตรา 193 วรรคสอง ซึ่งบัญญัติให้ศาลยุติธรรมมีระบบเงินเดือนและค่าตอบแทนเป็นการเฉพาะตามความเหมาะสม
อ่าน

สนช. แก้ที่มาคณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม (ก.ต.) ผู้พิพากษาเลือกกันเองหมด เลิกระบบ ส.ว. ช่วยเลือก

การยื่นถอดถอน ชำนาญ รวิวรรณพงษ์ “กรรมการตุลาการศาลยุติธรรม” ทำให้สังคมได้รู้จักชื่อของ "คณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม"  หรือ ก.ต. มากขึ้น ก.ต. เป็นหนึ่งในสามองค์กรที่มีอำนาจหน้าที่บริหารงานของศาลยุติธรรม และ สนช. กำลังพิจารณาแก้ไขที่มาของ ก.ต. ซึ่งจะทำให้ผู้พิพากษาเป็นผู้เลือกเองทั้งหมด
Logo of Courts
อ่าน

ประวัติศาสตร์ศาลทั้งสี่ ผู้ทรงอิทธิฤทธิ์ตามรัฐธรรมนูญไทย

"ศาล" เป็นสถาบันที่ปรากฏร่องรอยในประวัติศาตร์ไทยและประวัติศาสตร์โลกมาอย่างยาวนาน ปัจจุบันรัฐธรรมนูญกำหนดให้มีศาล 4 ประเภท คือ ศาลยุติธรรม ศาลทหาร ศาลปกครอง และศาลรัฐธรรมนูญ แต่ละศาลมีที่มาและอำนาจหน้าที่อย่างไร ลองสำรวจดูในมุมมองแบบย้อนประวัติศาสตร์