Denmark TN
อ่าน

รับมือโควิดในเดนมาร์ก: ตัวอย่างรัฐประชาธิปไตย ออกกฎหมายด่วนยังต้องผ่านสภา

นักวิจัยด้านระบาดวิทยา เล่าวิธีการรับมือโควิด 19 ในเดนมาร์กซึ่งเป็นประเทศยุโรปที่ขยับตัวเร็ว โดยไม่มีการเคอร์ฟิว เพราะการห้ามรวมตัวกันนั้นได้เพิ่ม social distancing อยู่แล้ว ผู้เขียนชี้ว่า เดนมาร์กพิสูจน์ให้เห็นแล้วว่า รัฐประชาธิปไตยและรัฐสวัสดิการสามารถลดการติดเชื้อและลดผลกระทบทางเศรษฐกิจได้
Marion Correctional Institution
อ่าน

สำรวจมาตรการเรือนจำแมริออน รัฐโอไฮโอ หลังพบนักโทษกว่า 70% ติด COVID-19 แล้ว

ในเรือนจำแมริออน ในเขตหนึ่งของรัฐโอไฮโอ สหรัฐอเมริกา ที่มีจำนวนนักโทษทั้งหมดประมาณ 2,600 คน มีนักโทษติดเชื้อ COVID-19 ไปแล้ว 1,950 ราย (21 เมษายน 2563) คิดเป็นมากกว่า 70 % ของนักโทษทั้งหมด มาดูกันว่าหลังจากนี้เขามีมาตรการจัดการอย่างไร
UAE TN
อ่าน

รับมือโควิดใน UAE: เคอร์ฟิว 24 ชั่วโมง ใครออกจากบ้านต้องขออนุญาตทางออนไลน์

อดีตลูกเรือสายการบินที่อยู่ในยูเออี เล่าบรรยากาศเมืองอาหรับซึ่งพลเมืองขับ Supercars ไปช็อปปิ้ง แต่แรงงานอพยพชาวอินเดียหรือปากีสถานอาจลำบากและเสี่ยงติดโรค บางบริษัทให้ลูกจ้าง Leave without pay รัฐบาลสั่งเคอร์ฟิว 24 ชั่วโมง ใครจะออกจากบ้านต้องขออนุญาตล่วงหน้าทางออนไลน์
Covid_foreign_Temp-02
อ่าน

รับมือโควิดในสหรัฐ: ตอบสนองล่าช้า หาเต็นท์ให้คนไร้บ้าน สินค้าขาดแคลน

สหรัฐอเมริกาเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกที่มีความเจริญทางด้านเศรษฐกิจและกองทัพที่เข้มแข็ง ทว่าเมื่อเกิดการแพร่ระบาดของโควิด-19 การตอบสนองโดยภาครัฐในช่วงแรกกลับเป็นไปอย่างล่าช้าจนทำให้ไวรัสโคโรนาระบาดไปทั่วประเทศ อย่างไรก็ตามเมื่อรัฐบาลทั้งส่วนกลางและท้องถิ่นเริ่มตั้งหลักได้ก็มีการนำมาตรการที่เข้มงวดต่างๆ มาใช้และบางเมืองก็มีมาตรการดูแลกลุ่มคนเปราะบางอย่างคนไร้บ้านซึ่งทางการไทยน่าจะได้ศึกษาและนำมาปรับใช้
Germany TN
อ่าน

รับมือโควิดในเยอรมนี: เริ่มช้าแต่เอาอยู่ ให้นายจ้างลงทะเบียนจ่ายเงินเยียวยา

ผู้เขียนเป็นประชาชนตาดำๆ คนหนึ่งที่อยากเห็นการเปลี่ยนแปลงในเมืองไทย ปัจจุบันรับใช้ประชาชนอยู่ที่เยอรมนี เขียนเล่าการจัดการโควิดที่ประชาชนเชื่อมั่น พร้อมร่วมมือกับรัฐบาล หลังใช้มาตรการฉุกเฉินและเคอร์ฟิว เยอรมนีก็กำลังทยอยให้ร้านค้ากลับมาเปิดได้ ปัจจัยสำคัญหนึ่งคือ การเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบอย่างจริงจังและทั่วถึง
Germany TN
อ่าน

รับมือโควิดในเยอรมนี: สร้างความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวในวิกฤติ ผู้นำย้ำหลักประชาธิปไตย

คนไทยในเยอรมนีรีวิวมาตรการรับมือโควิด ในฐานะที่เยอรมนีมีผู้ติดเชื้อมากแต่เสียชีวิตน้อย สามประเด็นหลักที่ชวนเรียนรู้ คือ ประสิทธิภาพในการจัดการแก้ไขปัญหา, จิตวิทยาทางสังคม ความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน และการหาสมดุลระหว่างการใช้มาตรการเข้มงวดเพื่อปกป้องสุขภาพ กับการรักษาสิทธิและเสรีภาพ
France Paris
อ่าน

รับมือโควิดในฝรั่งเศส: สร้างระบบกฎหมายขึ้นใหม่ “สถานการณ์ฉุกเฉินทางสาธารณสุข” ไม่ปนกับการทหาร

ณัฐวุฒิ คล้ายขำ อดีตนักเรียนกฎหมายในฝรั่งเศส ชวนมองประเด็นการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินเพื่อรับมือโควิด 19 รอบนี้ที่ฝรั่งเศสออกกฎหมายใหม่นำเสนอระบบใหม่ แยกจากสถานการณ์ฉุกเฉินทางการทหารและกรณีอื่นๆ ทำให้เกิดความชัดเจนมากขึ้นสำหรับภัยพิบัติชนิดนี้ เป็นตัวอย่างให้ไทยเรียนรู้ได้
Covid France
อ่าน

รับมือโควิดในฝรั่งเศส: ประชาชนตื่นตัวช้า รัฐบาลออกตัวช้าแต่สั่งกองทัพได้

นักเรียนกฎหมายชาวไทย นามปากกา นายอองดรัวต์ ครัวซองต์ เล่าบรรยากาศในฝรั่งเศสก่อนช่วงโควิดระบาดหนัก ชี้ประชาชนไม่ตื่นตัว ไม่เชื่อมั่นในรัฐบาล ขณะที่รัฐบาลก็ออกมาตรการช้า ตอนแรกกำหนดให้หน้ากากอนามัยเป็นสินค้าควบคุมเฉพาะกับบุคคลากรทางการแพทย์ ต่อมาจึงแจกจ่ายให้ประชาชน
London
อ่าน

เล่าประสบการณ์ คนไทยกลับบ้านไม่ได้หากไม่มีใบ Fit to Fly สถานทูตก็ไม่เห็นด้วยแต่ช่วยเต็มที่

สุทธิเกียรติ คชโส และภัทรานิษฐ์ เยาดำ นักเรียนไทยในอังกฤษและสามี เล่าประสบการณ์ระหว่างเตรียมเดินทางกลับไทย แต่มีประกาศ ก.พ.ท. ออกมา สายการบินปฏิเสธไม่ออก Boarding Pass ให้ ทางสถานทูตไทยก็พยายามช่วยจัดการแล้ว แต่ใบรับรองแพทย์ไม่ได้หาง่ายนักในประเทศอังกฤษที่ไวรัสก็กำลังระบาด
Netherlands TN
อ่าน

รับมือโควิดในเนเธอร์แลนด์: “Intelligent Lockdown” รับมือแบบผ่อนคลายเพราะเชื่อมั่นในประชาชน

ในขณะที่ประเทศรอบข้างต่างดำเนินมาตรการรับมือโควิด-19 อย่างเข้มข้น เนเธอร์แลนด์ดินแดนกังหันลมยังคงดำเนินมาตรการล็อคดาวน์แบบผ่อนคลายที่ประชาชนยังพอใช้ชีวิตตามปกติ เช่น พาสุนัขไปเดินเล่นได้บ้าง โดยโจทย์สำคัญ คือ มาตรการคุมโรคในระยะยาวว่าจะปล่อยให้มีการแพร่เชื้อแบบจำกัดเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันหมู่หรือไม่