MMM System
อ่าน

สรุป “ระบบเลือกตั้งบัตรสองใบ” ฉบับ กมธ.ร่างแก้รัฐธรรมนูญฯ

ชวนทำความรู้จักรัฐธรรมนูญฉบับแก้ไขให้กลับไปคล้ายกับรัฐธรรมนูญ 2540 คือให้มีบัตรเลือกตั้งสองใบที่แยก ส.ส.เขต และบัญชีรายชื่อออกจากกัน รวมทั้งปรับสัดส่วนให้มี ส.ส.เขต 400 คน และ ส.ส.บัญชีรายชื่อ 100 คน
51253498196_a5b0940b5d_b
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ: “แก้ระบบเลือกตั้ง-ปิดสวิตซ์ ส.ว.” จุดร่วมฝ่ายค้านและพรรคร่วมรัฐบาล

ในศึกการแก้รัฐธรรมนูญภาคสอง ทั้งพรรครัฐบาลและฝ่ายค้านต่างมีจุดร่วมสำคัญอยู่ที่การแก้ไขเรื่อง “ระบบเลือกตั้ง” ให้กลับไปใช้บัตรเลือกตั้งสองใบเช่นเดียวกับระบบเลือกตั้งตามรัฐธรรมนูญ ปี 2540 แต่จุดต่างที่สำคัญ ซึ่งพรรคพลังประชารัฐเป็นกลุ่มเดียวที่ไม่ยอมเสนอ คือ การ "ปิดสวิตซ์ ส.ว." หรือยกเลิกที่มาและอำนาจของวุฒิสภาตามบทเฉพาะกาล หรือ ยกเลิก ส.ว. ที่มาจากการคัดเลือกของ คสช.
drafting election system
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ: สำรวจข้อเสนอ “ระบบเลือกตั้ง สสร.” ผ่านคำ แปรญัตติ

สาระสำคัญของร่างแก้รัฐธรรมนูญ ฉบับ กมธ. คือ การจัดทำรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ โดยให้มีสภาร่างรัฐธรรมนูญ มาจากการเลือกตั้งจำนวน 200 คน โดยใช้จังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง
1280px-Democracy_Monument(อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย)
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ : สสร. สูตรเลือกตั้ง100%-ใช้ระบบ “รวมเขตเบอร์เดียว”

จากการแถลงของโฆษกคณะกรรมาธิการพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติม หรือ กมธ.แก้รัฐธรรมนูญฯ เมื่อวันที่ 28 มกราคม 2564 ระบุว่า กมธ.เสียงข้างมาก เห็นควรให้ สสร. มีจำนวน 200 คน และให้มาจากการเลือกตั้ง โดยใช้เขตจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้งแบบ "1 คน 1 เสียง" และได้มอบหมายให้สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาดำเนินการยกร่างบทบัญญัติให้มีความเชื่อมโยงให้ถูกต้องกับตามมติของที่ประชุม
50327805427_f981e88891_c
อ่าน

ผ่าทางตันรัฐธรรมนูญไทยในมุมมอง “สิริพรรณ นกสวน สวัสดี”

รศ.ดร.สิริพรรณ นกสวน สวัสดี อาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ มองว่า ข้อเสนอเกี่ยวกับ สสร. ของทั้งพรรคฝ่ายค้านและรัฐบาลยังไม่เพียงพอต่อการสะท้อนกลุ่มก้อนทางสังคมเพราะใช้จังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง รวมถึงการแก้รัฐธรรมนูญจำเป็นต้องพิจารณาควบคู่กับสถานการณ์ทางการเมือง ซึ่งจากข้อเสนอเพื่อปิตสวิตช์ ส.ว. อาจต้องพิจารณาเรื่องการแก้ระบบเลือกตั้งควบคู่ไปด้วย
SSR People TN
อ่าน

เปิดโมเดล สสร. ร่าง 50,000 ชื่อ เลือกตั้ง 100% ไม่แบ่งเขตตามจังหวัด

ข้อเสนอวิธีการตั้ง สสร. ของภาคประชาชนที่เปิดให้เข้าชื่อ 50,000 คน เสนอที่มาจากการเลือกตั้ง 100% ไม่มีโควต้าพิเศษสำหรับผู้ทรงคุณวุฒิ ไม่ต้องแบ่งเขตเลือกตั้งเป็นจังหวัด ใครอยู่ที่ไหนก็เลือกผู้สมัครได้ทุกคน
1
อ่าน

6 ปี คสช.: มอง ‘ระบอบ คสช.’ ผ่าน 6 เสาค้ำจุนอำนาจ

22 พฤษภาคม 2557 คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) นำโดย พล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา ยึดอำนาจรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ที่มาจากการเลือกตั้ง ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของการสถาปนาอำนาจ “ระบอบ คสช.” ที่พยายามเปลี่ยนผ่านอำนาจแบบเผด็จการเต็มใบไปสู่ระบอบเผด็จการซ่อนรูป ในวาระครบรอบ 6 ปี เราขอทบทวนโครงสร้างอำนาจที่ คสช. ถูกออกแบบไว้ให้คณะรัฐประหารสามารถอยู่กับสังคมไทยได้ไปอีกหลายปี
Election System
อ่าน

เลือกตั้ง 5 ครั้งใช้ 4 ระบบ เปรียบเทียบระบบเลือกตั้ง 2540 ถึงปัจจุบัน

ในระยะเวลา 20 ปี นอกจากจะมีรัฐธรรมนูญ 3 ฉบับแล้ว ยังมีระบบเลือกตั้งถึง 4 แบบ จัดการเลือกตั้งที่นับผลจริงได้ 5 ครั้ง โดยเป็นพรรคการเมืองเดิมที่กวาดที่นั่ง ส.ส. ไปมากที่สุดทั้ง 5 รอบ ชวนดูเปรียบเทียบระบบเลือกตั้งทั้ง 4 แบบ และข้อดีข้อเสีย ก่อนจะต้องออกแบบกันใหม่อีกไม่รู้กี่รอบ
49037707012_554f771eef_o
อ่าน

‘พรรคแตก’ จากการออกแบบระบบเลือกตั้ง เสี้ยม ส.ส.เขต-ปาร์ตี้ลิสต์

ายใต้รัฐธรรมนูญ ปี 2560 ที่นำทีมออกแบบโดยมีชัย ฤชุพันธุ์ มีการเปลี่ยนระบบเลือกตั้งแบบใหม่ เรียกว่า 'ระบบจัดสรรปันส่วนผสม' ซึ่งใช้บัตรเลือกใบเดียวเลือกทั้งพรรคทั้งคน ส่งผลให้พรรคการเมืองอ่อนแออย่างยากจะหลีกเลี่ยง ทำให้การเลือกของประชาชนกลับไปมุ่งเน้นตัวบุคคลมากกว่านโยบาย 
48922035091_16be7894a6_b
อ่าน

รัฐธรรมนูญ 60 ดีไซน์ให้รัฐบาลอ่อนแอ “คสช. 2” ติดกับสภาเสียงปริ่มน้ำผ่านงบปี 63

พล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชานำคณะคสช. สืบทอดอำนาจผ่านการเลือกตั้งได้สำเร็จ แต่ “คสช. 2” เป็นรัฐบาลผสมเสียง“ปริ่มน้ำ” ซึ่งเป็นผลมาจากรัฐธรรมนูญปี 2560 ที่คสช. ออกแบบขึ้นมาเอง พล.อ. ประยุทธ์ เปิดประชุมสภาสมัย “พิเศษ” เพื่อพิจารณาผ่านกฎหมายงบประมาณประจำปี 2563 ในวันที่ 17-19 ตุลาคม 2562 จึงอาจไม่ง่ายนัก