Switzerland Referendum
อ่าน

ประชามติสวิตเซอร์แลนด์: ประชามติที่มาจากเจตจำนงของพลเมือง

ประชามติของประเทศสวิตเซอร์แลนด์จะเกิดขึ้นตามเจตจำนงของพลเมืองเท่านั้น ซึ่งแตกต่างจากการทำประชามติที่ริเริ่มจัดทำขึ้นโดยรัฐบาล (Plebiscite) ที่มักมีไว้เพื่อสร้างความชอบธรรมให้ผู้มีอำนาจ ที่สวิตเซอร์แลนด์ รัฐบาลหรือรัฐสภาไม่สามารถสั่งให้ทำประชามติขึ้นเองแต่ต้องเกิดจากประชาชน และผลของการทำประชามติเป็นสิ่งที่รัฐบาลต้องทำตาม ไม่ว่าจะเห็นด้วยหรือไม่ก็ตาม
Admin Court order
อ่าน

ศาลปกครองไม่รับฟ้อง ชี้ผู้ฟ้องคดีไม่เสียหาย สั่งกกต.แจงสังคมให้ชัดว่า การฝ่าฝืนประกาศไม่มีโทษ

ศาลปกครองสูงสุดสั่งไม่รับฟ้อง คดีที่ไอลอว์และภาคประชาสังคมฟ้องขอให้เพิกถอนประกาศห้ามแสดงความเห็นของกกต. ชี้ผู้ฟ้องคดีไม่เสียหายไม่มีอำนาจฟ้อง ไอลอว์รับผลออกมาเช่นนี้เพราะเทคนิคทางกฎหมาย แต่พร้อมทำกิจกรรมต่อเพื่อยืนยันเสรีภาพการแสดงออก  
อ่าน

ประชามติอียิปต์: ร่างรัฐธรรมนูญ 3 ครั้งใน 5 ปี เลือกตั้งแล้วได้ผู้นำไม่ดีเลยต้องเชื่อมือทหาร

การเมืองของอียิปต์ยุคใหม่ เริ่มตั้งแต่ปี 2011 เมื่อขับไล่เผด็จการได้สำเร็จ แต่ชาวอียิปต์ก็ยังไม่ได้ประชาธิปไตยจริงๆ เมื่อรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งใช้ไม่แคร์ประชาชน จนทหารต้องมายึดอำนาจ ในรอบ 5 ปี อียิปต์ร่างรัฐธรรมนูญใหม่ 3 ครั้ง และทำประชามติ 3 ครั้ง ในบรรยากาศที่ต่างกัน
Brexit
อ่าน

ประชามติBrexit: ประชาธิปไตยไม่จำเป็นต้อง “ได้ดังใจ”

เกมกีฬาใดๆ ย่อมมีผู้แพ้และผู้ชนะ ประชาธิปไตยก็เช่นกัน บทเรียนจากความอกหักของประชามติ Brexit ในสหราชอาณาจักร สะท้อนวัฒนธรรมและการเรียนรู้ในสังคมประชาธิปไตย
Sri lanka president
อ่าน

ประชามติศรีลังกา-บังกลาเทศ: ลงคะแนนต่ออายุเผด็จการภายใต้กฎหมายพิเศษ

ศรีลังกา และบังกลาเทศ มีประสบการณ์เกี่ยวกับประชามติที่ไม่ค่อยดีนัก เมื่อผู้นำในอดีตใช้ประชามติเป็นเครื่องสร้างความชอบธรรม ต่ออายุให้อยู่ในอำนาจได้นานขึ้น และการทำประชามติก็เป็นไปใต้บรรยากาศของเผด็จการและกฎหมายพิเศษ
อ่าน

ประชามติเคนย่า: รับร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อออกจากยุคเผด็จการและความรุนแรง

ระหว่างการทำประชามติของเคนย่าในปี 2010 ฝ่ายรณรงค์รับร่างใช้สีเขียวทำกิจกรรม ฝ่ายไม่รับร่างใช้สีแดง คุ้นๆ บรรยากาศเหมือนเคยเกิดขึ้นในไทยมาก่อน บัตรเลือกตั้งเคนย่าใช้รูปกล้วยกับรูปส้ม เพราะกลัวคนอ่านหนังสือไม่ออก
Scottish Referendum
อ่าน

ประชามติสก็อตแลนด์: กกต.คุมแคมเปญที่การใช้จ่ายเงิน

ย้อนดูกฎกติกาการทำประชามติที่สหราชอาณาจักร เรื่อง สก็อตแลนด์จะเป็นเอกราช หรือไม่ กกต.ของเขาดูแลการจัดรณรงค์ด้วยการเปิดให้จดทะเบียน แคมเปญใหญ่อาจถูกตรวจสอบเงิน ส่วนแคมเปญเล็กทำได้อิสระ ผลที่ออกมาฝ่ายแพ้ประกาศยอมรับ
Yes No Prachamati
อ่าน

iLaw เผยผลสำรวจ ร้อยละ 90 ไม่รู้เรื่อง ‘คำถามพ่วง’ และกว่าครึ่งไม่รู้วันลงประชามติ

ไอลอว์ทำการสุ่มสำรวจอย่างไม่เป็นทางการ อยากรู้ว่าคนในสังคมตื่นตัวเรื่องการทำประชามติขนาดไหนในบรรยากาศที่การรณรงค์เป็นไปได้ยาก พบร้อยละ  ร้อยละ 70 ไม่ทราบวันลงประชามติ ร้อยละ 90 ไม่รู้เรื่องคำถามพ่วง
อ่าน

ไอลอว์ ยืนยัน พ.ร.บ.ประชามติฯ มาตรา 61 ขัดหลักเสรีภาพ ขอทุกฝ่ายเปิดให้ประชาชนรณรงค์ได้

หลังศาลรัฐธรรมนูญเผยแพร่ข่าวว่า ตุลาการมีมติเอกฉันท์ ว่าพ.ร.บ.ประชามติฯ มาตรา 61 วรรคสอง ส่วนที่เกี่ยวกับเสรีภาพการรณรงค์ ไม่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ ในฐานะผู้ยื่นเรื่องให้ตีความ นี่เป็นความเห็นของไอลอว์
The constitutional court verdict referendum act
อ่าน

รณรงค์ประชามติ ‘ยาก’ ศาลรธน.ชี้ พ.ร.บ.ประชามติฯ ไม่ขัดรัฐธรมนูญ

ศาลรัฐธรรมนูญมีคำวินิจฉัยแล้วว่า "มาตรา 61 วรรค 2" ของ พ.ร.บ.ประชามติ "ไม่ขัดหรือแย้ง" ต่อรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2557 มาตรา4 ทั้งนี้ เอกสารชี้แจงเป็นเพียงการบอกมติของศาลรัฐธรรมนูญว่า ขัดหรือไม่ แต่ไม่ได้ชี้แจ้งถึงเหตุผลโดยละเอียด ต้องรอดูเอกสารฉบับเต็ม