history of dissolve the parliament in Thailand
อ่าน

ประยุทธ์-ชวน ตัวตึงใช้เทคนิคยุบสภาก่อนครบวาระ ชิงความได้เปรียบก่อนเลือกตั้ง

“การยุบสภา”  เป็นเครื่องมือหนึ่งของรัฐบาลในการถ่วงดุลอำนาจกับสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร  ให้พ้นวาระก่อนครบกำหนด แต่การยุบสภาบางครั้งจุดประสงค์ที่แท้จริงอาจไม่ใช่การคืนอำนาจให้ประชาชน แต่อาจแฝงเล่ห์กลเพื่อช่วงชิงความได้เปรียบทางการเมืองบางอย่าง
Temporary Cabinet
อ่าน

เลือกตั้ง 66: รัฐบาลรักษาการคืออะไร? ทำอะไรได้บ้าง?

การยุบสภาฯ ทำให้เข้าสู่โหมดการเลือกตั้งอย่างเต็มตัว แต่รัฐบาลของพล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ก็ยังคงทำหน้าอยู่ในฐานะรัฐบาลรักษาการ ในระหว่างหาเสียงเลือกตั้งรัฐบาลรักษาการมีหน้าที่อย่างไร และอะไรที่ห้ามทำระหว่างรักษาการ
senate still work until 2024
อ่าน

ยุบสภา แต่ ส.ว. ชุดพิเศษยังอยู่ถึง พ.ค. 67 และมีอำนาจเลือกนายกฯ หลังเลือกตั้ง 66

แม้ 20 มีนาคม 2566 จะมีประกาศยุบสภา องค์กรที่เปลี่ยนแปลงโดยตรงคือสภาผู้แทนราษฎร ที่จะต้องมีการเลือกตั้งใหม่ ขณะที่วุฒิสภาชุดพิเศษ ไม่ได้เปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้าง ยังมีอำนาจเลือกนายกฯ หลังเลือกตั้ง 2566 และมีวาระห้าปี ถึง พ.ค. 2567
dissolve the parliament
อ่าน

เลือกตั้ง 66: ยุบสภาโค้งสุดท้าย ไม่ใช่การคืนอำนาจ แต่เป็นการ “ยื้อเวลา” ให้เลือกตั้งช้าลง (with English translation)

20 มี.ค. 66 มีการประกาศยุบสภา 3 วันก่อนหน้าที่สภาผู้แทนราษฎร ชุดที่มาจากการเลือกตั้งปี 2562 จะครบกำหนด การประกาศในช่วงโค้งสุดท้าย มีผลต่อการกำหนดวันเลือกตั้ง ที่สามารถ “ยื้อเวลา” ออกไปได้ ต่างจากกรอบเวลาวันเลือกตั้งกรณีสภาหมดอายุที่สั้นกว่า
Election Calendar
อ่าน

เลือกตั้ง 66: เปิดปฏิทินการเลือกตั้งอย่างช้า เมื่อนายกฯ ยุบสภา 20 มี.ค.

สิ่งที่คนไทยควรติดตามหลังการยุบสภาไม่ใช่แค่วันเลือกตั้ง เราจึงคำนวณกรอบเวลาสำคัญไปจนถึงถึงวันเลือกตั้งให้ทุกคนจดใส่ปฏิทินไว้ เพื่อวางแผนล่วงหน้าก่อน กกต. ประกาศวันจริง
1-1@2x-100 (6)
อ่าน

เลือกตั้ง 66: เปิดกฎหมายหาทางออก กรณี กกต. แบ่งเขตเลือกตั้งไม่ทันยุบสภา

หลังศาลรัฐธรรมนูญมีคำวินิจฉัยว่า การคำนวนจำนวน ส.ส. จะต้องคำนวณโดยเอาเฉพาะจำนวนราษฎรที่มีสัญชาติไทยมาคำนวณเท่านั้น ส่งผลให้ กกต. ต้องคำนวณจำนวน ส.ส.ใหม่ และผลที่ตามมาคือ ต้องมีการแบ่งเขตเลือกตั้งใหม่ ซึ่งถ้ามีการยุบสภาในระหว่างที่การแบ่งเขตเลือกตั้งยังไม่แล้วเสร็จ ก็จะส่งผลให้ให้บางเขตไม่สามารถส่งผู้สมัครรับเลือกตั้งได้ และเกิดภาวระสูญญากาศทางการเมือง
Political Party Member Before MP Candidate
อ่าน

เลือกตั้ง66: สมัคร ส.ส.ต้องเป็นสมาชิก 90 วัน ถ้า ส.ส.ย้ายพรรคสิ้นสภาพทันที

กฎหมายกำหนดให้ผู้ที่จะสมัคร ส.ส.ต้องเป็นสมาชิกพรรค 90 วัน นับจนถึงวันเลือกตั้งในกรณีครบวาระสภา หรือ 30 วัน นับจนถึงวันเลือกตั้งในกรณียุบสภา ถ้าสภาอยู่ครบวาระ ส.ส. ที่ต้องการย้ายพรรคต้องลาออกจากสมาชิกพรรคเดิมก่อน ซึ่งจะส่งผลให้สถานะการเป็น ส.ส. สิ้นสุดลง  
Parliament's seat after Thamanat Prompow and 21 other MPs resigned
อ่าน

พล.อ.ประยุทธ์ เสี่ยง “แพ้โหวตในสภา” หลังก๊วนธรรมนัสย้ายค่าย

จากกรณีที่กรรมการบริหารพรรคพลังพลังประชารัฐ รวมทั้ง ส.ส.พรรค ทั้งหมด 78 เสียง มีมติขับ ร.อ.ธรรมนัส และพวกรวมทั้งหมด 21 คน ออกจากพรรค ผลที่จะตามมา คือ จำนวน ส.ส. ในพรรคพลังประชารัฐจะลดลงครั้งใหญ่ ถ้าหากทั้ง 21 คนยังคงสนับสนุนรัฐบาลเพียงแต่ย้ายไปอยู่พรรคใหม่ในชื่ออื่น ก็อาจกระทบต่อความอยู่รอดไม่มาก แต่ถ้าหาก 21 เสียงนี้พร้อมต่อรอง โดยการลงมติสวนรัฐบาลบ้าง เสียงฝ่ายรัฐบาลอาจจะมีสภาวะ "ปริ่มน้ำ" หรือมีเสียงสนับสนุนในสภาเกินกึ่งหนึ่งมาเพียงเล็กน้อย 
Timeline
อ่าน

1 ปี ม็อบเยาวชนปลดแอก: ข้อเรียกร้อง “ร่างรัฐธรรมนูญใหม่” ยังไม่คืบหน้า

ย้อนกลับไปเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม 2563 หรือ เมื่อหนึ่งปีก่อนหน้านี้ กลุ่มเยาวชนปลดแอก หรือ Free Youth ได้จัดการชุมนุมใหญ่บนท้องถนนรอบอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ซึ่งนับว่าเป็นการเคลื่อนไหวก้าวสำคัญที่นำไปสู่การเคลื่อนไหวยกระดับของกลุ่มต่างๆ ที่ไม่พอใจรัฐบาล โดย ณ ขณะนั้น ข้อเรียกร้องสำคัญ มีอยู่สามข้อ คือ ยุบสภา ร่างรัฐธรรมนูญใหม่ และ หยุดคุกคามประชาชน      
50147398751_4c6363299e_b
อ่าน

ยุบสภาอย่างไร ให้ได้ประชาธิปไตยคืนมา

ข้อเรียกร้องให้รัฐบาล "ยุบสภา" เริ่มดังขึ้นเรื่อยๆ เมื่อกลุ่มนักเรียนนักศึกษาทั่วประเทศกำลังกลับมารวมตัวกันอีกครั้ง  แต่ทว่าคำถามสำคัญคือ ระหว่างการยุบสภาให้มีการเลือกตั้งใหม่ กับการแก้รัฐธรรมนูญก่อนแล้วจึงยุบสภา แนวทางไหนที่มีความเป็นไปได้มากกว่ากันที่จะพาประเทศไทยกลับคืนสู่ประชาธิปไตย