-วีระ-ทษช
อ่าน

ยุบพรรคไทยรักษาชาติ: อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต ของพรรคการเมืองในมุมนักรัฐศาสตร์

7 มีนาคม 2562 ศาลรัฐธรรมนูญนัดฟังคำวินิจฉัย กรณี กกต. ยื่นยุบพรรคไทยรักษาชาติ ท่างกลางเสียงกองเชียร์และกองแช่งที่แข็งขัน แต่ทั้งนี้ ในสายตานักรัฐศาสตร์ อย่าง ดร.วีระ หวังสัจจะโชค มองว่า การยุบพรรคดังกล่าวเป็นการทำลายสิทธิของประชาชนที่จะมีตัวแทนทางการเมือง
Thai Save the Nation Party in Constitutional court
อ่าน

เลือกตั้ง 62: คดีไทยรักษาชาติจะจบเร็วหรือช้า ขึ้นอยู่กับการยุติการไต่สวนของศาลรัฐธรรมนูญ

ก่อนจะถึงการเลือกตั้งในวันที่ 24 มีนาคม 2562 ประเด็นที่คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) ยื่นคำร้องขอให้ยุบพรรคไทยรักษาชาติ (ทษช.) ต่อศาลรัฐธรรมนูญ เป็นเรื่องที่น่าติดตามมากที่สุดเรื่องหนึ่ง จึงชวนมาดูกันว่าศาลรัฐธรรมนูญจะมีการดำเนินการพิจารณาคดีอย่างไร                    
Election 2562 : Deadline 26 November If New Political Party Want to Election
อ่าน

เลือกตั้ง 62: เส้นตาย! 26 พ.ย. ถ้าจะลงเลือกตั้งพรรคการเมืองใหม่ต้องตั้งเสร็จ

ภายใต้การปกครองของคสช. ที่ห้ามพรรคการเมืองใหม่เกิดขึ้นเลยตลอดสี่ปี และเพิ่งประกาศให้เริ่มจดจัดตั้งพรรคได้ ทำให้พรรคใหม่มีระยะเวลาเตรียมตัวที่สั้นเกินไปบวกกับเงื่อนไขในการจัดตั้งพรรคที่ยากอาจจะทำให้พรรคหน้าใหม่จำนวนมากจัดตั้งไม่เสร็จสมบูรณ์ทันตามกรอบเวลาเพื่อที่จะลงเลือกตั้ง 
Eazy to amend NCPO law
อ่าน

อภินิหารยุคทหาร แก้กฎหมายง่ายๆ สไตล์ คสช.

ในยุค คสช. กระบวนการออกกฎหมายที่ไร้การตรวจสอบ ส่งผลให้กฎหมายจำนวนหนึ่งผ่านไปแล้วต้องมีการกลับมาแก้ไขใหม่ โดยอาศัยอำนาจ ม. 44 ในการออกคำสั่งหัวหน้า คสช. หรือการส่งต่อให้ สนช. แก้ไขรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายต่างๆ ที่ผ่านมามีอย่างน้อย 6 ครั้งที่ คสช. และ สนช. พยายามแก้ไขกฎหมายที่ตัวเองออก 
อ่าน

ข้อดี – ข้อเสีย ไพรมารี่โหวต ของ คสช.

ระบบไพรมารี่โหวต ถูกกำหนดให้พรรคการเมืองทุกพรรคต้องดำเนินการก่อนจะส่งตัวแทนพรรคลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นว่าที่ ส.ส. พรรคการเมืองหลายพรรคทั้งเก่าและใหม่ต่างเห็นว่าระบบไพรมารี่โหวตจะเป็นอุปสรรคในการเลือกตั้งที่กำลังจะเกิดขึ้นข้างหน้า ซึ่งข้อดีและข้อเสียของระบบไพรมารี่โหวตแบบไทยๆ มีดังนี้
อ่าน

นับถอยหลัง ‘ภารกิจหนีตาย’ ที่ คสช. เขียน พรรคการเมืองเล่น

ท่ามกลางการลงพื้นที่ (หาเสียง) ของ พล.อ.ประยุทธ์ จันโอชา หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) แต่พรรคการเมืองทั้งใหม่และเก่ายังไม่สามารถขยับตัวได้ เนื่องจากติดเงื่อนไขห้ามดำเนินกิจกรรมทางการเมืองตามประกาศคสช. ที่ 57/2557 และ คำสั่งหัวหน้าคสช. ที่ 3/2558 ทั้งนี้ หากไม่ปฏิบัติตามจะต้องได้รับโทษ ไม่ว่าจะเป็นโทษปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือทั้งจำทั้งปรับ
อ่าน

คุณสมบัติสมาชิกพรรคต้องมีอะไรบ้าง?

พ.ร.ป.พรรคการเมืองฯ ทำให้การที่ประชาชนเข้ามาเป็นสมาชิกพรรคการเมืองมีความสำคัญมาก เนื่องจาก สมาชิกพรรคการเมืองมีภารกิจต่อพรรคการเมืองหลายอย่าง เช่น เข้าร่วมประชุมเพื่อตั้งพรรค จัดตั้งสาขาพรรค และลงคะแนนคัดเลือกผู้สมัครส.ส.ขั้นต้น (primary vote) เป็นต้น แต่ทว่าการจะเข้ามาสมัครเป็นสมาชิกพรรคก็ไม่ใช่เรื่องง่าย เพราะบุคคลที่จะเข้ามาสมัครเป็นสมาชิกพรรคจำเป็นจะต้องมีคุณสมบัติตามที่กำหนดด้วย
อ่าน

18 ข้อต้องห้าม ถ้าฝ่าฝืนให้องค์กรอิสระยุบพรรคการเมือง

การตั้งพรรคการเมืองตาม พ.ร.ป.พรรคการเมือง ค่อนข้างที่จะเป็นเรื่องยาก ไม่ว่าจะเป็นการต้องใช้ผู้ร่วมจัดตั้งพรรคถึง 500 คน แล้วภายใน 1 ปียังต้องมีสมาชิกพรรคไม่น้อยกว่า 5,000 คน รวมถึงต้องตั้งสาขาพรรคการเมืองในแต่ละภาคอย่างน้อย 1 สาขา และมีทุนประเดิมการตั้งพรรคอย่างน้อย 1,000,000 บาท โดยผู้ร่วมจัดตั้งพรรคทุกคนต้องร่วมจ่ายคนละอย่างน้อย 1,000 บาทแต่ไม่เกิน 50,000 บาท แต่ทว่า การสิ้นสุดของพรรคการเมืองกลับมีเหตุผลและเงื่อนไขจำนวนมากที่จะทำให้ยุบพรรคได้ง่ายๆ ซึ่งมีด้วยกันทั้งหมด 18 ข้อ ตาม พ.ร.ป.พรรคการเมือง
อ่าน

เส้นทางพรรคการเมืองไม่เอาทหาร ยังไม่ง่าย! คสช. วางกลไกขวางไว้เพียบ

เส้นทางของพรรคการเมืองหน้าใหม่ที่ประกาศตัวเป็นปฏิปักษ์กับ คสช. นั้นไม่ง่าย เพราะกลไกการเข้าสู่อำนาจผ่านการเลือกตั้งนั้น ยังต้องเป็นไปตามกติกาในรัฐธรรมนูญ 2560 และกฎหมายลูกอีกหลายฉบับ รวมทั้งประกาศ และคำสั่งของ คสช. ที่ยังมีผลบังคับใช้ซึ่ง คสช. วางกลไกกับดักเอาไว้มากมาย
อ่าน

10 กลไกตามรัฐธรรมนูญ ที่ส่อทำให้การเลือกตั้งไร้ความหมาย

กลไกใหม่ๆ ตามรัฐธรรมนูญ 2560 เช่น กฎหมายพรรคการเมือง การนับที่นั่งส.ส. กลไกลนายกฯคนนอก ฯลฯ หากถูกนำมาใช้ประกอบกันในเงื่อนไขและจังหวะเวลาที่ถูกต้อง อาจทำให้ คสช. สามารถควบคุมผลการเลือกตั้งครั้งหน้าได้ และทำให้การเลือกตั้งที่กำลังจะเกิดขึ้นไม่มีความหมาย