The Sangha Supreme Council of Thailand
อ่าน

ที่มา “มหาเถรสมาคม” ตามพ.ร.บ.คณะสงฆ์ แต่งตั้งโดยพระมหากษัตริย์

จากกรณี "ปลดสามเจ้าคณะจังหวัด" และ "กฎมหาเถรสมาคมห้ามสงฆ์เรียนอย่างคฤหัสถ์" ที่เกิดไล่เลี่ยกัน มีจุดร่วม คือ องค์กรผู้ใช้อำนาจเป็น “มหาเถรสมาคม” องค์กรปกครองฝ่ายสงฆ์ในไทย ที่มีอำนาจจัดระเบียบคณะสงฆ์ ปลดเจ้าคณะจังหวัด รวมไปถึงการออกคำสั่งเพื่อให้คณะสงฆ์ปฏิบัติไปในทิศทางเดียวกัน 
Sangha Act B.E. 2505
อ่าน

เปิดเกณฑ์การ “สึกพระ” ตามพ.ร.บ.คณะสงฆ์-กฎมหาเถรสมาคม

แม้นักบวชของพุทธศาสนา จะมีจุดมุ่งหมายคือการเข้าสู่โลกแห่งธรรม และมุ่งถึงนิพพาน แต่ชีวิตและสถานะความเป็นภิกษุสงฆ์ในรัฐไทยก็ไม่แยกขาดออกจากเรื่องทางโลกเสียทีเดียว เมื่อรัฐไทยยังกำกับการปกครองคณะสงฆ์ มีกฎหมาย-กฎมหาเถรสมาคมมากำหนดเรื่องการพ้นจากสถานะความเป็นภิกษุสงฆ์ หรือการสละสมณเพศ
อ่าน

กฎหมายพุทธศาสนาใหม่ “แผงพระ พระเบี่ยงเบน” อาจติดคุก

ความพยายามเสนอ ร่าง พ.ร.บ.อุปถัมภ์และคุ้มครองพระพุทธศาสนา เกิดขึ้นหลังรัฐประหาร 2549 และต่อเนื่องถึงรัฐบาลหลังจากนั้นหลายครั้งแต่ก็ไม่ประสบความสำเร็จ หลังรัฐประหาร 2557 ร่างกฎหมายฉบับนี้กลับมาอีกครั้ง และเป็นกฎหมายฉบับต้นๆ ที่คณะรัฐประหารอนุมัติหลักการก่อนจะมี ครม. และ สนช.ด้วย  
monk
อ่าน

ความล้าหลังของพ.ร.บ.คณะสงฆ์ พ.ศ. 2505

ปัญหาความเสื่อมโทรมของวงการพุทธศาสนาไทยที่ได้รับการวิพากษ์วิจารณ์อย่างกว้างขวางในสังคม ทั้งนี้ข้อสรุปส่วนใหญ่ของปัญหามักโยน ‘ความผิด’ หรือ ‘บาป’ ให้กับพระสงฆ์และประชาชนทั่วไป แม้ข้อสรุปดังกล่าวจะไม่ผิดแต่ก็ได้ละเลยต้นเหตุ คือ พ.ร.บ.คณะสงฆ์ พ.ศ.2505 อันเป็นส่วนสำคัญของความเสื่อมที่เกิดขึ้นในพุทธศาสนาไทยขณะนี้