51232828692_a25cfe81e9_o
อ่าน

สรุปโพสต์เดียวจบ! พ.ร.ก.เงินกู้ห้าแสนล้านบาท ทำไมต้องกู้-เอาไปใช้ทำอะไร?

วันพรุ่งนี้ (9 มิถุนายน 2564) สภาผู้แทนราษฎรมีนัดประชุมเพื่อพิจารณาอนุมัติพระราชกำหนด (พ.ร.ก.) ให้อำนาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจและสังคมจากการระบาดระลอกใหม่ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เพิ่มเติม พ.ศ. 2564 หรือ "ร่าง พ.ร.ก. เงินกู้ห้าแสนล้านบาท" ซึ่งถือว่าเป็นการกู้เงินรอบที่สองของรัฐบาล ท่ามกลางเสียงวิพากษ์วิจารณ์ว่า ที่ผ่านมารัฐบาลล้มเหลวในการใช้เงินกู้เพื่อแก้ปัญหาจากโรคโควิด-19
Parliament approved loan decree.
อ่าน

สภาเห็นชอบ พ.ร.ก.กู้เงิน 1.9 ล้านล้าน: ส.ส. มีเสียงค้าน แต่ ส.ว.ผ่านฉลุย!

ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรได้ลงมติเกี่ยวกับ พ.ร.ก.เงินกู้ สามฉบับ หลังจากมีการอภิปรายถึงห้าวัน ผลคือ เห็นชอบให้ผ่าน พ.ร.ก.ทั้งสามฉบับ และได้ส่งต่อไปให้วุฒิสภาพิจารณา และลงมติอีกครั้ง ซึ่งที่ประชุม ส.ว.ใช้เวลาทั้งหมดสองวัน และลงมติเห็นชอบทั้งสามฉบับโดยไม่มี ส.ว. คนใดไม่เห็นชอบเลย
TSNBg3wSBdng7ijM8HAJWzwD3jt1Yl0EvN9CFebStkh
อ่าน

พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ กับต้นทุนที่ประชาชนต้องแบก

ตลอดสองเดือนที่ผ่านมา รัฐบาลต่ออายุ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ถึงสองครั้ง แต่กลับไม่มีรายงานความคืบหน้าเรื่องความพร้อมของการตรวจหาผู้ติดเชื้อ หรือการจัดเตรียมอุปกรณ์ป้องกันโรค ทั้งที่เป็นหนึ่งในมาตรการสำคัญที่ทำให้ประชาชนสามารถกลับมาดำเนินกิจกรรมทางสังคมและเศรษฐกิจได้โดยไม่เสี่ยงต่อโรคระบาด
ฝ่ายค้านเตรียมอภิปราย พ.ร.ก.กู้เงิน 3 ฉบับ ตั้งเป้า ถ้าตรวจสอบไม่ได้-ไม่ให้กฎหมา
อ่าน

ฝ่ายค้านเตรียมอภิปราย พ.ร.ก.กู้เงิน 3 ฉบับ ตั้งเป้า ถ้าตรวจสอบไม่ได้-ไม่ให้กฎหมายผ่าน

 27 พ.ค. 63 ที่ประชุม ส.ส.เตรียมประชุมสมัยสามัญ มีภารกิจคือ พิจารณา พ.ร.ก.กู้เงินหนึ่งล้านล้านบาทเพื่อรับมือสถานการณ์ระบาดของโรคโควิด 19 โดยทางวิปฝ่ายค้านแถลงร่วมกันว่า ให้มีการตั้ง กมธ.วิสามัญตรวจสอบการใช้เงินและให้รัฐบาลรายงานบัญชีต่อสภาต่อเดือน มิฉะนั้น ฝ่ายค้านจะลงมติ‘ไม่ให้ผ่าน’ 
กู้เงิน
อ่าน

พ.ร.ก.กู้เงินฯ: ช่องทางหาเงินพิเศษของรัฐบาลที่ต้องจับตา

เพื่อแก้ปัญหาวิกฤติเศรษฐกิจรวมถึงการรับมือกับปัญหาทั้งหมดทั้งมวลที่เกิดขึ้นภายหลังการระบาดของโคโรน่าไวรัสสายพันธ์ุใหม่ หรือ “โควิด-19” รัฐบาล คสช.2 เตรียมออกมาตรการกู้เงินพิเศษอย่างน้อย 1 ล้านล้านบาท โดยสิ่งที่น่าสนใจ คือ การกู้เงินดังกล่าวจะเป็นการใช้ “ช่องทางพิเศษ” ตาม พ.ร.บ.วินัยการเงินการคลังของรัฐ ซึ่งมีข้อจำกัดในการตรวจสอบแก้ไขวงเงินกู้ที่รัฐบาลต้องใช้ว่ามีความเหมาะสมหรือไม่
49716600857_e3d45267e7_o
อ่าน

“ออฟชั่นเสริม” เติมสภาพคล่องทางการคลังรับมือวิกฤติโควิด 19

การรับมือโรคระบาดนั้นสัมพันธ์กับการบริหารจัดการงบประมาณของรัฐ เพื่อช่วยเหลือ สนับสนุน เยียวยา ทุกภาคส่วน แม้ปกติ รัฐบาลจะมี พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี เป็นกระเป๋าตังค์หลัก แต่ก็อาจไม่เพียงพอ จึงต้องมีออฟชั่นเสริม เติมสภาพคล่องให้รัฐบาล
49705801347_92ff9cc934_o
อ่าน

เครื่องมือทางการคลังในสถานการณ์ฉุกเฉิน

การแพร่ระบาดของโควิด 19 โรคที่เกิดจากเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ ได้สร้างผลกระทบอย่างใหญ่หลวงให้กับโลก ไม่ว่าจะทางเศรษฐกิจหรือสังคม ไม่เว้นแม้แต่ประเทศไทย ดังนั้น การรับมือสถานการณ์วิกฤติรัฐต้องมีความเพียบพร้อมในการใช้เงินงบประมาณแก้ปัญหา แต่เนื่องจากการใช้งบประมาณต้องตราเป็นกฎหมายไว้ล่วงหน้าซึ่งอาจไม่ทันกาลกับวิกฤติ ดังนั้น รัฐธรรมนูญ และกฎหมายงบประมาณจึงมีมาตรการอื่นๆ ให้รัฐบาลสามารถเลือกใช้ได้