Taweesilp
อ่าน

ยกเลิก พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ได้ มีกฎหมายทดแทน

22 พฤษภาคม 2563 ที่ผ่านมา ศบค. มีมติต่ออายุ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ออกไปอีกอย่างน้อยหนึ่งเดือน โดยอ้างความจำเป็นในการคงมาตรการรับมือโรคระบาด แต่ทว่า ถ้าย้อนดูจากมาตรการสำคัญที่ยังหลงเหลืออยู่ กลับเป็นการใช้อำนาจและกลไกปกติของกฎหมายต่างๆ อาทิ พ.ร.บ.โรคติดต่อ เป็นต้น 
Law's problem on Covid-19
อ่าน

ปัญหาทางกฎหมาย กรณี พล.อ.ประยุทธ์ ใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ รับมือโควิด 19

พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ เป็น "ยาแรง" เพื่อรับมือกับโควิด 19 โดยรวบอำนาจการแก้ไขปัญหามาอยู่ในมือของนายกรัฐมนตรี ออกข้อกำหนดรวมแล้วหกฉบับ กำหนดข้อห้าม เงื่อนไข คำแนะนำ สิ่งที่อนุญาตให้ทำได้ รวมทั้งมอบหมายอำนาจให้กับตำแหน่งต่างๆ ซึ่งมีปัญหาในทางกฎหมายต้องพิจารณากันว่าถูกต้องและใช้ให้มีผลในทางกฎหมายได้อย่างไร
Immigration Detention
อ่าน

‘ห้องกัก ตม.’ สถานที่เสี่ยงติดโควิดสูงมาก กฎหมายเปิดช่องให้ใช้ทางเลือกอื่นได้

ระหว่างที่ผู้คนใช้ชีวิตแบบ "เว้นระยะห่าง" ศูนย์กักกันของสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง (ตม.) ซึ่งเป็นที่รวมตัวขนาดย่อมของชาวต่างชาติที่รอการส่งตัวกลับประเทศ กลายเป็นสถานที่แออัดที่มีผู้ติดเชื้อจำนวนมาก เมื่อดูตามกฎหมายพบว่า เจ้าหน้าที่มีทางเลือกที่จะให้ปล่อยตัวไปอยู่ที่อื่น โดยมีประกันระหว่างรอการส่งกลับก็ได้
อ่าน

พ.ร.บ.คนเข้าเมือง-กฎหมายพรากครอบครัว ประสบการณ์ตรงจากสาวไทยเชื้อสายอินเดีย

เรื่องราวจากปากของ กรีรัน ยาโด ผู้ถูกกฎหมายคนเข้าเมืองท้าทายความรักของสมาชิกในครอบครัว โดยระบุว่าพ่อของเธอเป็นบุคคลอันตราย ห้ามเข้าประเทศไทย ประสบการณ์การต่อสู้ของเธอนำมาซึ่งข้อเสนอขอแก้ไขกฎหมายให้ชัดเจนกว่านี้และตรวจสอบดุลพินิจได้
อ่าน

จากโรฮิงญา สู่คำถามต่อกฎหมายผู้ลี้ภัยไทย

ประเทศไทยต้องรับมือกับเพื่อนบ้านที่หลบหนีเข้าเมืองหลายกลุ่ม ล่าสุดคือชาวโรฮิงญาที่หนีภัยความตายอันเกิดจากความแตกต่างทางเชื้อชาติหรือศาสนา การเสนอร่างพ.ร.บ.ผู้ลี้ภัยของภาคประชาชน หรือการลงนามในอนุสัญญาว่าด้วยสถานภาพผู้ลี้ภัย ปี 1951 อาจแก้ไขปัญหาได้ในระดับหนึ่ง  
immigration police
อ่าน

เสนอแก้ กม.คนเข้าเมืองให้ทันสมัย-รับเปิดเสรีอาเซียน

หลายฝ่ายชี้สิทธิการอยู่ร่วมในครอบครัว สำคัญกว่ากฎหมายคนเข้าเมือง พร้อมเสนอแก้ไขพระราชบัญญัติคนเข้าเมือง พ.ศ.2522 เพื่อให้ครอบครัวได้อยู่ร่วมกัน