history of dissolve the parliament in Thailand
อ่าน

ประยุทธ์-ชวน ตัวตึงใช้เทคนิคยุบสภาก่อนครบวาระ ชิงความได้เปรียบก่อนเลือกตั้ง

“การยุบสภา”  เป็นเครื่องมือหนึ่งของรัฐบาลในการถ่วงดุลอำนาจกับสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร  ให้พ้นวาระก่อนครบกำหนด แต่การยุบสภาบางครั้งจุดประสงค์ที่แท้จริงอาจไม่ใช่การคืนอำนาจให้ประชาชน แต่อาจแฝงเล่ห์กลเพื่อช่วงชิงความได้เปรียบทางการเมืองบางอย่าง
senate still work until 2024
อ่าน

ยุบสภา แต่ ส.ว. ชุดพิเศษยังอยู่ถึง พ.ค. 67 และมีอำนาจเลือกนายกฯ หลังเลือกตั้ง 66

แม้ 20 มีนาคม 2566 จะมีประกาศยุบสภา องค์กรที่เปลี่ยนแปลงโดยตรงคือสภาผู้แทนราษฎร ที่จะต้องมีการเลือกตั้งใหม่ ขณะที่วุฒิสภาชุดพิเศษ ไม่ได้เปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้าง ยังมีอำนาจเลือกนายกฯ หลังเลือกตั้ง 2566 และมีวาระห้าปี ถึง พ.ค. 2567
dissolve the parliament
อ่าน

เลือกตั้ง 66: ยุบสภาโค้งสุดท้าย ไม่ใช่การคืนอำนาจ แต่เป็นการ “ยื้อเวลา” ให้เลือกตั้งช้าลง (with English translation)

20 มี.ค. 66 มีการประกาศยุบสภา 3 วันก่อนหน้าที่สภาผู้แทนราษฎร ชุดที่มาจากการเลือกตั้งปี 2562 จะครบกำหนด การประกาศในช่วงโค้งสุดท้าย มีผลต่อการกำหนดวันเลือกตั้ง ที่สามารถ “ยื้อเวลา” ออกไปได้ ต่างจากกรอบเวลาวันเลือกตั้งกรณีสภาหมดอายุที่สั้นกว่า