election result
อ่าน

อดีตฝ่ายค้านแลนด์สไลด์ พรรคทหารทรุด เสียงส่วนใหญ่ไม่เอาอดีตพรรคร่วม

ผลการเลือกตั้งทั่วไป 2566 อย่างไม่เป็นทางการปรากฏว่าอดีตพรรคฝ่ายค้านเอาชนะอดีตพรรคฝ่ายรัฐบาลไปอย่างถล่มทลาย ซึ่งเป็นความเปลี่ยนแปลงอย่างมากจากผลคะแนนเมื่อสี่ปีก่อน
no-confidence motion
อ่าน

ส่อง 6 รมต.จะอยู่หรือไปในการอภิปรายไม่ไว้วางใจครั้งที่ 3

31 ส.ค.–3 ก.ย. 64 เป็นช่วงเวลาของการอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาลประยุทธ์ หนที่สาม แม้การอภิปรายครั้งนี้จะไม่ล้มรัฐบาลประยุทธ์ได้ทันที แต่ความสำคัญอยู่ที่การลงคะแนนที่แตกต่างมากน้อยกันของรัฐมนตรีซึ่งอาจสะเทือนถึงความสัมพันธ์ภายในพรรคร่วมรัฐบาล
51298216373_977ccd2508_o
อ่าน

ถอนร่วมรัฐบาล: ความเป็นไปได้ของการ “เปลี่ยนม้ากลางศึก”

ความเป็นไปได้ของ "การเปลี่ยนม้าศึก" หรือเปลี่ยนตัวผู้นำรัฐบาล เพราะไม่เชื่อมั่นว่า พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีจะไม่สามารถรับมือกับวิกฤติได้ แต่การจะ "เปลี่ยนม้าศึก" ได้หรือไม่ได้ เงื่อนไขสำคัญประการหนึ่งคือ "ท่าทีของพรรคร่วมรัฐบาล" โดยเฉพาะพรรคประชาธิปัตย์และพรรคภูมิใจไทย 
two chances
อ่าน

2 ร่าง 2 ปัญหา 2 โอกาส: เกมในสภา #แก้รัฐธรรมนูญ ยังไม่จบ ประชาชนต้องสู้ต่อ

สถานการณ์การแก้ไขรัฐธรรมนูญ นับถึงเดือนธันวาคม 2563 เหลือร่าง 2 ฉบับ คือ ฉบับพรรคเพื่อไทยและพรรคร่วมรัฐบาล มี 2 ปัญหาต้องช่วยกันคิด จะได้เลือกตั้ง สสร. 100% หรือไม่ และหมวด 1 หมวด 2 จะเขียนใหม่ได้หรือไม่ กับสองโอกาสหากต้องคว่ำข้อเสนอชุดนี้ถ้ายังคงมุ่งสืบทอดอำนาจให้ คสช. ต่ออีก
con-1
อ่าน

ร่างรัฐธรรมนูญประชาชนต้องไปต่อ สภาต้องบรรจุสมัยหน้าพิจารณาพร้อมร่างพรรครัฐบาล-ฝ่ายค้าน

24 กันยายน 2563 ที่ประชุมรัฐสภามีมติเสียงข้างมากให้ตั้งคณะกรรมาธิการเพื่อพิจารณาญัตติแก้รัฐธรรมนูญที่พรรคร่วมรัฐบาลและพรรคร่วมฝ่ายค้านเป็นผู้เสนอก่อนลงมติรับหลักการ (วาระแรก) โดยคาดว่าต้องใช้กรอบเวลาพิจารณาประมาณ 30 วัน และเริ่มพิจารณาใหม่อีกครั้งในสมัยประชุมหน้า
50365494693_09562ba094_o
อ่าน

4 เหตุผลต้องคว่ำข้อเสนอ “แก้รัฐธรรมนูญ” ของฝั่งรัฐบาล

แม้ถนนทุกสายจะมุ่งหน้าสู่การแก้รัฐธรรมนูญ 2560 แต่ใช่ว่าทุกเส้นทางจะมีเป้าหมายเพื่อสร้างระบอบประชาธิปไตยอย่างแท้จริง หากพิจารณาข้อเสนอของพรรคร่วมรัฐบาลให้ดีจะพบว่า เป็นเพียงความพยายาม "เล่นแร่แปรธาตุ" ให้กระบวนการแก้รัฐธรรมนูญกลายเป็น "ข้ออ้างอยู่ยาว" เพื่อรักษาอำนาจของ "ระบอบ คสช."
n20200910150835_468916
อ่าน

ถ้าร่างแก้รัฐธรรมนูญผ่านปีนี้ ปลายปีหน้าได้รัฐธรรมนูญใหม่

ในเดือนกันยายน 2563 คาดว่าจะมีการพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญอย่างน้อยสองฉบับ โดยสาระสำคัญของร่างแก้รัฐธรรมนูญแต่ละฉบับมีจุดร่วมกัน คือ การเปิดทางให้มีการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่โดยสภาร่างรัฐธรรมนูญ (สสร.) ที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน และต้องจัดทำร่างรัฐธรรมนูญให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งถึงสองปี 
50327805427_f981e88891_c
อ่าน

ผ่าทางตันรัฐธรรมนูญไทยในมุมมอง “สิริพรรณ นกสวน สวัสดี”

รศ.ดร.สิริพรรณ นกสวน สวัสดี อาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ มองว่า ข้อเสนอเกี่ยวกับ สสร. ของทั้งพรรคฝ่ายค้านและรัฐบาลยังไม่เพียงพอต่อการสะท้อนกลุ่มก้อนทางสังคมเพราะใช้จังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง รวมถึงการแก้รัฐธรรมนูญจำเป็นต้องพิจารณาควบคู่กับสถานการณ์ทางการเมือง ซึ่งจากข้อเสนอเพื่อปิตสวิตช์ ส.ว. อาจต้องพิจารณาเรื่องการแก้ระบบเลือกตั้งควบคู่ไปด้วย