French Presidential Election System: Two Round Voting
อ่าน

ระบบเลือกตั้งฝรั่งเศส : ประชาชนเลือกได้สองรอบ การันตีเสียงข้างมากเด็ดขาด

ระบบเลือกตั้งประธานาธิบดีของฝรั่งเศสนั้นใช้ระบบเลือกตั้งสองรอบ (Two-Round System) ซึ่งจะคัดเลือกผู้สมัครที่ได้คะแนนสูงสุดสองอันดับแรกในการเลือกตั้งรอบแรก มาแข่งกันอีกครั้งในรอบที่สองเพื่อหาผู้ชนะอีกครั้ง เพื่อรับประกันว่าอย่างน้อยผู้ที่ชนะนั้นจะได้เป็นเสียงข้างมากอย่างเด็ดขาด
curfew in france
อ่าน

ส่องประเทศเคยเคอร์ฟิว : ฝรั่งเศส ยกเลิกเคอร์ฟิว เดินหน้าฉีดวัคซีนเด็ก 12 ปีขึ้นไป

ฝรั่งเศส เป็นอีกหนึ่งประเทศที่มีจำนวนผู้ติดเชื้อโควิด-19 เป็นอันดับต้นๆ ของโลก ใช้มาตรการล็อคดาวน์เพื่อสู้กับโควิด-19 ถึงสามครั้ง และใช้มาตรการ "เคอร์ฟิว" ห้ามออกจากบ้านในยามวิกาลเป็นระยะๆ แต่ยกเลิกเคอร์ฟิวไปแล้วเมื่อ 20 มิถุนายน 2564 
France
อ่าน

รับมือโควิดในฝรั่งเศส: ยกเลิกสถานการณ์ฉุกเฉินแล้ว ชุมนุมประท้วงทำได้

14 กรกฎาคม 2563 ประเทศฝรั่งเศสได้ยกเลิกสถานการณ์ฉุกเฉินทางสาธารณสุข และผ่อนปรนให้เปิดสนามกีฬา โรงมหรสพ ฯลฯ รวมถึงให้ชุมนุมประท้วงได้ แต่ยังคงมาตรการรัฐบางอย่างเพื่อป้องกันโรคระบาดอยู่ เช่น ให้สวมใส่หน้ากากอนามัย ปิดผับ และห้ามฝึกกีฬาต่อสู้
aHR0cHM6Ly9zLmlzYW5vb2suY29tL25zLzAvdWQvMTUwOS83NTQ1MzQyL2NvdmVyLWZiLXByYXl1dGguanBn
อ่าน

ชมจริงหรือพีอาร์? มองเพดาน “การโฆษณาภาครัฐ” ผ่านกฎหมาย

การโฆษณาประชาสัมพันธ์โดยปกติแล้วไม่ใช่เรื่องผิดบาป เพียงแต่มีเส้นที่ยังต้องกำกับกันอยู่บ้างเพื่อคุ้มครองผู้บริโภคสื่อไม่ให้ถูกครอบงำ หรือชักจูงให้หลงเชื่อจนเกิดผลเสีย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการประชาสัมพันธ์หรือโฆษณาจากภาครัฐที่นำเม็ดเงินภาษีประชาชนไปใช้ ยิ่งต้องมีการกำกับอย่างเคร่งครัด
Comparison of Constitutional Courts
อ่าน

เปรียบเทียบที่มาตุลาการศาลรัฐธรรมนูญหลายประเทศ ไทยยัง ‘พิเศษ’ ที่ให้โควต้าข้าราชการ

ศาลรัฐธรรมนูญมีหน้าที่หลักเป็นองค์กร ‘พิทักษ์รัฐธรรมนูญ’ คอยตรวจสอบว่า กฎหมายขัดแย้งกับรัฐธรรมนูญหรือไม่ ด้วยบทบาทที่กำหนดความเป็นไปทางการเมือง ทำให้สังคมตั้งคำถามถึงอำนาจที่ล้นเหลือของศาลรัฐธรรมนูญ และ “ที่มา” ของคนที่จะมาดำรงตำแหน่ง ตุลาการที่มาจากสายข้าราชการของไทยนั้นเป็นระบบเฉพาะตัวมากที่ไม่เหมือนระบบของประเทศอื่น 
Covid World
อ่าน

เปรียบเทียบมาตรการรับมือโควิดของไทย กับของชาวโลก

ระหว่างที่สังคมโลกกำลังเผชิญหน้ากับวิกฤตการณ์โควิด 19 แต่ละประเทศก็ตัดสินใจใช้แนวนโยบายที่แตกต่างกัน แนวทางแบบใดที่จะถือว่าประสบความสำเร็จอย่างแท้จริง คงต้องพิจารณากันในระยะยาว ระหว่างนี้การเหลียวมองการตัดสินใจของประเทศอื่นๆ และผลที่เกิดขึ้น ก็เป็นสิ่งที่ควรพิจารณาเรียนรู้ไปพร้อมๆ กัน
France Paris
อ่าน

รับมือโควิดในฝรั่งเศส: สร้างระบบกฎหมายขึ้นใหม่ “สถานการณ์ฉุกเฉินทางสาธารณสุข” ไม่ปนกับการทหาร

ณัฐวุฒิ คล้ายขำ อดีตนักเรียนกฎหมายในฝรั่งเศส ชวนมองประเด็นการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินเพื่อรับมือโควิด 19 รอบนี้ที่ฝรั่งเศสออกกฎหมายใหม่นำเสนอระบบใหม่ แยกจากสถานการณ์ฉุกเฉินทางการทหารและกรณีอื่นๆ ทำให้เกิดความชัดเจนมากขึ้นสำหรับภัยพิบัติชนิดนี้ เป็นตัวอย่างให้ไทยเรียนรู้ได้
Covid France
อ่าน

รับมือโควิดในฝรั่งเศส: ประชาชนตื่นตัวช้า รัฐบาลออกตัวช้าแต่สั่งกองทัพได้

นักเรียนกฎหมายชาวไทย นามปากกา นายอองดรัวต์ ครัวซองต์ เล่าบรรยากาศในฝรั่งเศสก่อนช่วงโควิดระบาดหนัก ชี้ประชาชนไม่ตื่นตัว ไม่เชื่อมั่นในรัฐบาล ขณะที่รัฐบาลก็ออกมาตรการช้า ตอนแรกกำหนดให้หน้ากากอนามัยเป็นสินค้าควบคุมเฉพาะกับบุคคลากรทางการแพทย์ ต่อมาจึงแจกจ่ายให้ประชาชน
Paris
อ่าน

ฝรั่งเศสล็อคดาวน์ทั้งประเทศ ออกจากบ้านต้องกรอกแบบฟอร์มพกติดตัว

ฝรั่งเศสสู้กับโรคโควิด 19 ด้วยการสั่งล็อคดาวน์ทั้งประเทศ ห้ามคนออกจากบ้าน ตั้งแต่ 17 มีนาคม 2563 ให้ทุกคนทำงานที่บ้าน ออกนอกบ้านได้เท่าที่จำเป็นโดยต้องกรอกแบบฟอร์มแสดงเหตุผลพกติดตัวเอาไว้ หากฝ่าฝืนเน้นการลงโทษโดยการปรับเงิน