DE announcement
อ่าน

ประกาศกระทรวงดีอี ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตต้องลบเนื้อหาผิดกฎหมายภายใน 24 ชั่วโมง ตัดขั้นตอนการโต้แย้ง

กระทรวงดีอี คุมโลกออนไลน์เข้มงวดขึ้น ออกประกาศใหม่ เกี่ยวกับการนำข้อมูล "ออก" จากระบบคอมพิวเตอร์ ผู้ให้บริการต้องลบข้อมูลที่เป็นความผิดภายใน 24 ชั่วโมงหลังบุคคลทั่วไปร้องเรียน แต่กรณีเจ้าหน้าที่ตรวจพบแล้วแจ้งให้ลบยังมีเวลาขึ้นอยู่กับประเภทของเนื้อหาที่แจ้งให้ลบ
DES
อ่าน

ประกาศ DES มอบภาระให้ภาคธุรกิจเก็บข้อมูลผู้ใช้เน็ต ให้รัฐมีหลักฐานหาตัวผู้กระทำความผิด

ประกาศ DES มีผลใช้บังคับตั้งแต่ 14 สิงหาคม 2564 เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกำหนดมาตรฐานการเก็บรักษาข้อมูลและส่งเสริมธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ให้มีความน่าเชื่อถือ และเก็บข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ใช้รวบรวมพยานหลักฐานอิเล็กทรอนิกส์เกี่ยวกับอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และความผิดฐานต่างๆ ที่เกิดขึ้นบนโลกออนไลน์   
Coffee Shop
อ่าน

หน้าที่ของร้านกาแฟ ต้องเก็บข้อมูลผู้ใช้เน็ต ฝ่าฝืนปรับสูงสุด 500,000

ตามพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ที่ใช้อยู่ตั้งแต่ปี 2550 กำหนดความหมายของ "ผู้ให้บริการ" ไว้อย่างกว้างขวาง ไม่ได้เจาะจงเฉพาะผู้ให้บริการรายใหญ่เท่านั้น ซึ่งร้านอาหาร และร้านกาแฟ ก็อยู่ข่ายนี้ด้วย ซึ่งผู้ให้บริการมีหน้าที่ต้องเก็บข้อมูลผู้ใช้อินเทอร์เน็ตไว้ 90 วัน และอาจขยายได้ไม่เกินสองปี สร้างภาระอย่างมากให้กับธุรกิจขนาดเล็ก
อ่าน

เปรียบเทียบกฎหมายการแจ้งให้ลบเนื้อหา อเมริกาใช้เรื่องละเมิดลิขสิทธิ์ ไทยเน้นใช้เรื่องความมั่นคง

ระบบการแจ้งเตือนให้ลบเนื้อหา (Notice and Takedown) เริ่มใช้แล้วในประเทศไทยตามประกาศกระทรวงดีอีฯ ลองดูบทเรียนจากกฎหมาย DMCA ของอเมริกาว่า ระบบนี้ถูกใช้ในประเทศต้นตำรับอย่างไร มีปัญหาอะไร จะช่วยให้เห็นว่า กฎหมายของไทยยังมีช่องว่างอย่างไรบ้าง
CCA
อ่าน

กระทรวงดีอีออกประกาศชัด ผู้ให้บริการต้องลบข้อมูลเกี่ยวกับความมั่นคงภายใน 24 ชั่วโมง

22 กรกฎาคม 2560 ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ประกาศกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เรื่อง ขั้นตอนการแจ้งเตือน การระงับการทำให้แพร่หลายของข้อมูลคอมพิวเตอร์และการนำข้อมูลคอมพิวเตอร์ออกจากระบบคอมพิวเตอร์" และประกาศเรื่องอื่นๆ อีก รวม 5 ฉบับ หลังจากเคยเปิดรับฟังความคิดเห็นไปก่อนหน้านี้ 
Computer locked
อ่าน

หวั่นมาตรา 15 พ.ร.บ.คอมฯ ใหม่ เปิดช่องคู่แข่งออนไลน์กลั่นแกล้งกัน

วงเสวนาชี้ร่างแก้ไข พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ยังคลุมเครือในข้อกฎหมาย-ขอบเขตอำนาจเจ้าหน้าที่ มาตรา 15 ใหม่เขียนมาคุ้มครองผู้ให้บริการ แต่ยังเปิดช่องให้คู่แข่งทางการค้ากลั่นแกล้งรีพอร์ตกัน ไม่เอื้อประโยชน์ผู้ประกอบธุรกิจออนไลน์
001
อ่าน

วิธีการทางเทคนิคในการปิดกั้นสื่อออนไลน์หรือ “บล็อกเว็บ”

ดูเหมือนนิยามที่ว่า อินเทอร์เน็ตคือโลกไร้พรมแดนคงจะไม่สะท้อนความจริงนัก อย่างน้อยก็ในประเทศไทยที่ปัจจุบันยังคงมีการปิดกั้นการเข้าถึงเนื้อหาบางอย่างบนเว็บไซต์อยู่โดยตลอดภายใต้เหตุผลว่า “มีเนื้อหาและข้อมูลไม่เหมาะสม”
DTAC-True
อ่าน

DTAC-True ย้ำปัญหานิยาม “ผู้ให้บริการ” ชี้ Single Gateway จะกลับมาในรูปแบบใหม่

ฝ่ายกฎหมายของทั้ง True และ Dtac ต่างกังวลมาตรา 15 ของ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ เนื่องจากนิยามของผู้ให้บริการกว้างมาก และกำหนดให้ผู้ให้บริการมีความผิดเท่ากับผู้กระทำ ข้อเสนอแก้ไขสร้างปัญหาความทับซ้อนของกฎหมาย พร้อมชี้ Single Gateway ยังไม่ล้มเลิกไปแต่จะกลับมาในรูปแบบใหม่
Computer Crime
อ่าน

อะไรๆ ก็ผม … ปัญหาภาระทางกฎหมายของผู้ดูแลเว็บไซต์ ตามพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ

บทความจากนักศึกษานิติศาสตร์ เสนอความเห็นต่อมาตรา 15 ของพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ซึ่งสร้างภาระให้กับตัวกลางมากเกินไปในการต้องลบเนื้อหาที่ผิดกฎหมาย และความเห็นต่อร่างแก้ไข พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ที่บางมุมช่วยบรรเทาปัญหาได้ แต่บางมุมก็ยังไม่ดีขึ้น
Junta Control Cyber
อ่าน

นักวิชาการชี้ รัฐบาลทหารพยายามรวบอำนาจควบคุมโลกไซเบอร์

ทศพล ทรรศนกุลพันธ์ คณะนิติศาสตร์ ม.เชียงใหม่ ระบุ การรัฐประหารไม่ได้ง่ายดายอีกต่อไป เพราะมาเจอกับโลกไซเบอร์ ซึ่งเป็นเหตุผลว่าทำไมการรัฐประหารครั้งนี้ทหารถึงต้องเข้ามาแทรกแซงโลกไซเบอร์จำนวนมาก เพราะเป็นพื้นที่ใหม่ที่ควบคุมไม่ค่อยได้ เมื่อเปรียบเทียบกับพื้นที่อื่นยังพอควบคุมได้ด้วยการเชิญไปพูดคุย