Coffee Shop
อ่าน

หน้าที่ของร้านกาแฟ ต้องเก็บข้อมูลผู้ใช้เน็ต ฝ่าฝืนปรับสูงสุด 500,000

ตามพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ที่ใช้อยู่ตั้งแต่ปี 2550 กำหนดความหมายของ "ผู้ให้บริการ" ไว้อย่างกว้างขวาง ไม่ได้เจาะจงเฉพาะผู้ให้บริการรายใหญ่เท่านั้น ซึ่งร้านอาหาร และร้านกาแฟ ก็อยู่ข่ายนี้ด้วย ซึ่งผู้ให้บริการมีหน้าที่ต้องเก็บข้อมูลผู้ใช้อินเทอร์เน็ตไว้ 90 วัน และอาจขยายได้ไม่เกินสองปี สร้างภาระอย่างมากให้กับธุรกิจขนาดเล็ก
Computer Head
อ่าน

สรุปร่าง พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ฉบับ พ.ย.59: พื้นที่ออนไลน์จะมีแต่ดราม่าหมาแมว

ร่างแก้ไข พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ฉบับที่เห็นในเดือนพฤศจิกายน 2559 ยังมีข้อห่วงกังวลอีกมาก หลักการ "แจ้งเตือนและเอาออก" อาจไม่แก้ปัญหา และอาจสร้างระบบเซ็นเซอร์ตัวเองขนาดใหญ่ เพิ่มความผิดฐานไม่ลบไฟล์ผิดกฎหมาย และฐานโพสต์ข้อมูลเท็จเกี่ยวกับบริการสาธารณะ
Computer Crime
อ่าน

อะไรๆ ก็ผม … ปัญหาภาระทางกฎหมายของผู้ดูแลเว็บไซต์ ตามพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ

บทความจากนักศึกษานิติศาสตร์ เสนอความเห็นต่อมาตรา 15 ของพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ซึ่งสร้างภาระให้กับตัวกลางมากเกินไปในการต้องลบเนื้อหาที่ผิดกฎหมาย และความเห็นต่อร่างแก้ไข พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ที่บางมุมช่วยบรรเทาปัญหาได้ แต่บางมุมก็ยังไม่ดีขึ้น
อ่าน

เฟซบุคเปิดให้ชาวโลก โหวตนโยบายข้อมูลส่วนบุคคล

1-8 มิถุนายนนี้ เฟซบุคเปิดให้ผู้ใช้ทั่วโลกโหวตนโยบายข้อมูลส่วนบุคคล สร้างการลงประชามติที่กินอาณาเขตกว้างขวางที่สุดในประวัติศาสตร์ แต่มันอาจไม่มีความหมายเพราะหากมีผู้โหวตจำนวนไม่ถึงร้อยละ 30 ของสมาชิกเฟสบุ๊ค การโหวตนี้จะไม่มีผลผูกพันใดๆ ยังมีเสียงวิจารณ์ด้วยว่า นโยบายที่ให้เลือกโหวตระหว่างฉบับปัจจุบันและฉบับใหม่ ก็แทบหาความแตกต่างไม่ได้