attitude
อ่าน

คำสั่งหัวหน้า คสช. 3/2558 ทหารยังมีอำนาจพาคนไปปรับทัศนคติ และขังในค่ายทหาร 7 วัน

ในเดือนธันวาคม 2561 ข้อห้ามการชุมนุมทางการเมืองตั้งแต่ห้าคน ถูกยกเลิกไปเพื่อปลดล็อกการทำกิจกรรมทางการเมืองช่วงการเลือกตั้ง อย่างไรก็ตาม คำสั่งหัวหน้า คสช. ฉบับที่ 3/2558 ส่วนอื่นๆ ยังคงมีผลบังคับใช้อยู่ และหากไม่มีการยกเลิกเจ้าหน้าที่ทหารก็ยังมีอำนาจจับกุมหรือพาประชาชนไปควบคุมเพื่อ "ซักถาม" ในค่ายทหารเป็นเวลา 7 วันต่อไป แม้ประเทศจะอยู่ภายใต้รัฐบาลที่เข้าสู่อำนาจผ่านการเลือกตั้ง และ คสช. จะสิ้นสภาพไปแล้วก็ตาม  
6be688ae63b5df352fd0b55e8e6e332c (Edited)
อ่าน

5 ปีหลังรัฐประหารผ่านไป ชะตากรรมผู้ลี้ภัยยังห่างไกลจากคำว่าปลอดภัยอยู่มาก

‘ผู้ลี้ภัย’ ไปต่างประเทศส่วนใหญ่เป็นประเทศเพื่อนบ้าน บางคนดำเนินการจนได้รับสถานะผู้ลี้ภัย แต่บางคนยังคงติดค้างอยู่ในประเทศเพื่อนบ้าน
DSC_1012
อ่าน

ขอเพียงความจริง: แม่สยาม ธีรวุฒิ ยื่นหนังสือถึงสถานทูตเวียดนามขอให้เปิดเผยชะตากรรมของลูกชาย

13 พฤษภาคม 2562 พ่อและแม่ของสยาม ธีรวุฒิ พร้อมด้วยทนายควาเดินทางไปที่สถานทูตเวียดนามขอให้เปิดเผยถึงชะตากรรมของลูกชาย
6be688ae63b5df352fd0b55e8e6e332c (Edited)
อ่าน

ผู้ลี้ภัยชาวไทยสูญหายเพิ่มอย่างน้อย 3 คน ยังไม่ทราบชะตากรรม

9 พฤษภาคม 2562 เพียงดิน รักไทออกมาเปิดเผยว่า ผู้ลี้ภัยการเมืองในลาวอย่างน้อย 3 คน ถูกส่งตัวกลับไทยแล้ว แต่ไม่มีความคืบหน้
#SaveRahaf
อ่าน

ทบทวนกรณี #SaveRahaf กับสิทธิผู้ลี้ภัยในยุคคสช.

แม้ว่า Rahaf Mohammed Alqunun สาวชาวซาอุดิอาระเบีย จะมีประเทศที่สามรับเธอให้เข้าไปลี้ภัยแล้ว แต่เรื่องของเธอช่วยทำให้สังคมไทยได้ทบทวนบทบาทของรัฐที่มีต่อผู้ลี้ภัยว่า ต้องดำเนินการตามแนวทางหลักสิทธิมนุษยชน หรือยึดตามหลักต่างตอบแทนโดยส่งผู้ลี้ภัยกลับตามคำร้องขอของมิตรประเทศ
อ่าน

จากโรฮิงญา สู่คำถามต่อกฎหมายผู้ลี้ภัยไทย

ประเทศไทยต้องรับมือกับเพื่อนบ้านที่หลบหนีเข้าเมืองหลายกลุ่ม ล่าสุดคือชาวโรฮิงญาที่หนีภัยความตายอันเกิดจากความแตกต่างทางเชื้อชาติหรือศาสนา การเสนอร่างพ.ร.บ.ผู้ลี้ภัยของภาคประชาชน หรือการลงนามในอนุสัญญาว่าด้วยสถานภาพผู้ลี้ภัย ปี 1951 อาจแก้ไขปัญหาได้ในระดับหนึ่ง