EXIT
อ่าน

ก่อนท้องฟ้าจะสดใส: 6 ข้อเสนอคลี่คลายวิกฤติ “ยุติการคุกคาม – เปิดพื้นที่ปลอดภัย – ใช้กลไกรัฐสภา”

ไอลอว์ติดตามการชุมนุมของนักเรียน นักศึกษา และประชาชน รวมทั้งติดตามการทำงานของฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายบริหารมาอย่างต่อเนื่อง พวกเราเห็นว่า เพื่อแก้ไขสถานการณ์เฉพาะหน้าให้ความขัดแย้งคลี่คลายลง ไอลอว์จึงเสนอทางออกเพื่อคลี่คลายวิกฤติหกข้อ 
Law's problem on Covid-19
อ่าน

ปัญหาทางกฎหมาย กรณี พล.อ.ประยุทธ์ ใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ รับมือโควิด 19

พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ เป็น "ยาแรง" เพื่อรับมือกับโควิด 19 โดยรวบอำนาจการแก้ไขปัญหามาอยู่ในมือของนายกรัฐมนตรี ออกข้อกำหนดรวมแล้วหกฉบับ กำหนดข้อห้าม เงื่อนไข คำแนะนำ สิ่งที่อนุญาตให้ทำได้ รวมทั้งมอบหมายอำนาจให้กับตำแหน่งต่างๆ ซึ่งมีปัญหาในทางกฎหมายต้องพิจารณากันว่าถูกต้องและใช้ให้มีผลในทางกฎหมายได้อย่างไร
49869674897_f4eef7f033_o
อ่าน

รับมือโควิด 19 แบบไทยๆ ด้วยการออกกฎและ “ข่มขู่”

ที่ผ่านมาระหว่างการต่อสู้กับโรคโควิด 19 ด้วยกฎหมายและเครื่องมือใหม่ๆ แนวทางที่บุคลากรของภาครัฐปฏิบัติอย่างต่อเนื่องกัน คือ การแสดงออกในลักษณะ "ข่มขู่" หรือสร้างความหวาดกลัวให้แก่ประชาชน การข่มขู่อาจมาในลักษณะคำพูดที่สร้างความไม่มั่นคงให้แก่หน้าที่การงาน หรือการเตือนว่า การกระทำที่สวนทางกับรัฐอาจนำมาซึ่งการดำเนินคดีตามกฎหมาย
prayuth
อ่าน

ประยุทธ์ลาออกอย่าเพิ่งเฮ รัฐธรรมนูญ 60 เตรียมล่วงหน้า ‘นายกฯ คนนอก’ จากขั้วเดิม

แม้ พล.อ.ประยุทธ์ถอดใจลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ก็ใช่ว่าอนาคตการเมืองของไทยจะสดใสขึ้น เพราะรัฐธรรมนูญ 2560 ที่ คสช.ร่างขึ้นนั้นได้วางกลไกเอาไว้ ไม่ให้ประเทศเดินหน้าตามระบอบประชาธิปไตยจากการเลือกตั้งได้โดยง่าย
48912636171_605330d3bf_o
อ่าน

สภาเห็นชอบ พ.ร.ก.โอนอัตรากำลังพลฯ ด้านอนาคตใหม่ค้าน กังวลใช้อำนาจเหมือน ม.44

ส.ส. ได้ลงคะแนนเพื่ออนุมัติ พ.ร.ก.โอนอัตรากำลังพลฯ ซึ่งผลการลงมติมีคะแนนเสียง เห็นชอบ 376 เสียง  ไม่เห็นชอบ 70 เสียง งดออกเสียง 2 เสียง มีผู้เข้าร่วมประชุมสภาฯทั้งหมด 444 คน ในระหว่างการพิจารณา ปิยบุตร แสงกนกกุล ส.ส.พรรคอนาคตใหม่ ได้อภิปรายไม่เห็นชอบการออก พ.ร.ก.ดังกล่าว เนื่องจากเห็นว่า ไม่เห็นถึงความจำเป็นเร่งด่วนที่ ค.ร.ม. จะออก พ.ร.ก.ฉบับนี้ ซึ่งถือว่าไม่เป็นไปตาม ร.ธ.น.มาตรา 172 วรรคสอง
ปมเจ้าหน้าที่รัฐ-1
อ่าน

ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยคุณสมบัติประยุทธ์ ไม่ใช่เจ้าหน้าที่รัฐ เป็นนายกฯ ต่อได้

วันนี้ (18 กันยายน 2562) ศาลรัฐธรรมนูญอ่านคำวินิจฉัยเรื่องความเป็นรัฐมนตรีของ พล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา สิ้นสุดลงตามรัฐธรรมนูญหรือไม่ เนื่องจากดำรงตำแหน่งหัวหน้า คสช. ซึ่งถือเป็นเจ้าหน้ารัฐ ศาลวินิจฉัยว่า พล.อ. ประยุทธ์ ในฐานะหัวหน้า คสช. ไม่ใช่เจ้าหน้าที่อื่นของรัฐ ทำให้ไม่มีลักษณะต้องห้ามตามรัฐธรรมนูญและไม่ขาดคุณสมบัติ “ความเป็นนายกรัฐมนตรี”   
10 reasons
อ่าน

สิบเหตุผลที่ “ประยุทธ์” ไม่ควรอ้างว่า เป็นนายกฯ จากการเลือกตั้ง

พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ได้รับการโหวตจากทั้งสองสภาให้ได้เป็นนายกรัฐมนตรีต่อหลังการเลือกตั้ง แต่เนื่องจากความแปลกประหลาดที่เกิดขึ้นครั้งแล้วครั้งเล่าในการเลือกตั้งที่ผ่านพ้นไป ก็ทำให้พล.อ.ประยุทธ์ และผู้สนับสนุน ไม่ควรยกมากล่าวอ้างอย่างเต็มภาคภูมิได้ว่า มีที่มาจากการเลือกตั้ง  
-t
อ่าน

เลือกตั้ง 62: มีสภาผู้แทนราษฎรแล้ว แต่ยังลงมติไม่ไว้วางใจ ‘พล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา’ ไม่ได้

ส.ส. มีสิทธิในการอภิปรายไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรีหรือรัฐบาลให้พ้นจากตำแหน่งได้ แต่มีข้อยกเว้นสำหรับรัฐบาลของพล.อ. ประยุทธ์
opportunities
อ่าน

“โอกาส” ของประเทศไทย ถ้า คสช. ไม่ได้สืบทอดอำนาจต่อหลังเลือกตั้ง

ตลอดเวลาเกือบ 5 ปี รัฐบาล คสช. มีแนวทางรวบอำนาจไว้สู่ศูนย์กลาง ไม่เน้นออกแบบประเทศโดยให้มีส่วนร่วม หากหลังการเลือกตั้ง คสช. ไม่ได้กลับมามีอำนาจต่อ ความฝันที่ประชาชนอยากจะเห็นแต่ถูกทำหมันไปโดย คสช. ก็จะกลับมามี “โอกาส” เริ่มเดินหน้าได้ต่ออีกครั้ง