52374178378_6755de06aa_o
อ่าน

112 ALERT! ชวนเปิดแฟ้ม “บุญลือ” คดีคอมเมนต์เฟซบุ๊กเรื่องปฏิรูปกษัตริย์ ก่อนพิพากษา

เนื่องจาก #มาตรา112 อยู่ในหมวดความผิดเกี่ยวกับ “ความมั่นคงแห่งราชอาณาจักร” กฎหมายจึงอนุญาตให้ “ใครก็ได้” ที่พบเห็นการกระทำและสงสัยว่าเป็นการกระทำความผิด ไม่จำเป็นต้องเป็นผู้เสียหายเอาพฤติการณ์ไปแจ้งเพื่อให้ตำรวจดำเนินคดีได้เลย ดังนั้น คดีจำนวนไม่น้อยจึงริเริ่มขึ้นใน “สถานีตำรวจที่ผู้กล่าวหาสะดวก” ส่งผลให้ผู้ถูกกล่าวหาต้องแบกรับภาระในการเดินทางไปเข้ารวมกระบวนการพิจารณาคดี ณ จังหวัดที่ได้มีการไปกล่าวโทษไว้ คดีของ “บุญลือ” เป็นหนึ่งในนั้น “บุญลือ” เป็นชื่อสมมติ
อ่าน

ประเทศตัวอย่างที่ “วิจารณ์ศาลได้” ไม่มีความผิด

ข่าวนักวิชาการไทยอย่างน้อย 2 คนที่ถูกศาลฎีกา และศาลรัฐธรรมนูญเรียกเพื่อไปให้ข้อมูลกับศาลเนื่องจากอาจมีความผิดฐานละเมิดอำนาจศาลจากการวิพากษ์วิจารณ์ และการติชมในพื้นที่สาธารณะทำให้บรรยากาศการแสดงความคิดเห็นต่อศาลกลายเป็นสิ่งที่น่าหวาดระแวง  แต่ทว่า ในหลายประเทศซึ่งมีความก้าวหน้าทางประชาธิปไตย เช่น สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร หรืออินเดีย กลับเปิดพื้นที่ให้ประชาชนได้ทำหน้าที่ตรวจสอบศาลผ่านการวิพากษ์วิจารณ์ โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกาที่เปิดกว้างให้วิพากษ์วิจารณ์ได้ แม้ว่าการวิพากษ์วิจารณ์นั้นจะผิดพลาด หรือมุ่งร้าย หรือไม่เป็นธรรมเท่าใดก็ตาม แต่การกระทำของประชาชนก็ไม่ถื
36061007624_dec5c35c65_b
อ่าน

Section 116: When ‘Sedition’ is used as the obstruction of freedom of expression

  Have you ever complained with your friends or posted on social network about social problems such as; bad traffic, uneven footpaths, taxis rejecting passengers, long waiting time for buses or even flood issue? Sometimes the complaining may reach to the criticism of the government’s work, which expressed from your feeling or emotions without any other intentions.
36061007624_dec5c35c65_b
อ่าน

มาตรา 116: เมื่อข้อหา “ยุยงปลุกปั่น” ถูกใช้เป็นเครื่องมือปิดกั้นการแสดงออก

เคยไหม ที่บ่นกับเพื่อนหรือโพสต์ลงโซเชียลบ่นถึงปัญหาในสังคม ไม่ว่าจะรถติด ทางเดินฟุตบาทเป็นหลุม แท็กซี่ไม่รับ รอรถเมล์นานหรือแม้กะทั่งเรื่องน้ำท่วม จนบางครั้งคำบ่นที่จริงจังก็เลยไปถึงการวิพากษ์วิจารณ์การทำงานของรัฐบาล ซึ่งการแสดงความคิดเห็นเหล่านี้ก็เป็นไปตามอารมณ์หรือความรู้สึก โดยไม่ได้มีเจตนาอื่นใด และเป็นเรื่องธรรมดาที่ใครสักคนจะวิพากษ์วิจารณ์เรื่องราวที่ประสบพบเจอ และได้รับผลกระทบ แต่ทว่า เรื่องธรรมดาแบบนี้ กำลังกลายเป็นเรื่องที่ทำไม่ได้ เพราะในยุคของ คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) มีการใช้มาตราการดำเนินคดีกับผู้ที่ออกมาแสดงความคิดเห็น ซึ่งหลายๆ คดีนั้นก็เวี
Military Court Logo
อ่าน

ข้อมูลเบื้องต้น เกี่ยวกับศาลทหารในยุค คสช.

ก่อนการรัฐประหารปี 2557 จำเลยที่เป็นทหารเท่านั้นต้องขึ้นศาลทหาร แต่ประกาศคสช.ฉบับที่ 37/2557, 38/2557 และ 50/2557 กำหนดให้พลเรือนต้องขึ้นศาลทหารในคดีความต่อไปนี้ >> คดีความผิดต่อพระมหากษัตริย์ ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 107-112 >> คดีความผิดต่อความมั่นคงภายในราชอาณาจั