Amnesty Proposal66
อ่าน

ชวนแสดงความเห็น ข้อเสนอนิรโทษกรรม การชุมนุม ตั้งแต่ 49-65 ไม่รวมทุจริต ไม่รวม112

เว็บไซต์รัฐสภา เปิดรับฟังความคิดเห็นร่างพ.ร.บ.สร้างเสริมสังคมสันติสุข ซึ่งร่างฉบับนี้จะยกเว้นความผิดให้กับผู้ชุมนุมหรือแสดงออกทางการเมือง หรือที่เข้าใจกันว่า เป็นการออกกฎหมาย "นิรโทษกรรม" นั่นเอง โดยร่างนี้รวมการกระทำตั้งแต่ปี 2549 ไม่รวมการทำให้ผู้อื่นเสียชีวิต และไม่รวมคดีมาตรา112
amnesty law in Thailand
อ่าน

ย้อนดูกฎหมายนิรโทษกรรมของไทย 23 ฉบับ เว้นโทษให้คณะรัฐประหารไปแล้วถึง 11 ครั้ง

ประเทศไทย เคยออกกฎหมายเพื่อนิรโทษกรรมเหตุการณ์ทางการเมืองอย่างน้อย 23 ครั้ง ในจำนวนนั้น 11 ครั้งเป็นการนิรโทษกรรมแก่บรรดาคณะรัฐประหารที่เข้ามายึดอำนาจ ชวนย้อนดูประวัติศาสตร์การนิรโทษกรรมของประเทศไทยว่าตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา ถูกนำไปใช้ในเรื่องใดบ้าง
Prayuth Amnesty
อ่าน

จากรัฐประหารถึงจัดการวัคซีน : รัฐบาลพล.อ.ประยุทธ์ ยกเว้นความผิด จนเป็นปกติ?

คณะรัฐมนตรีกำลังจะเสนอร่างแก้ไข พ.ร.บ.โรคติดต่อ โดยมีบทยกเว้นความรับผิดให้เจ้าหน้าที่ ท่ามกลางกระแสข่าวการพยายามนิรโทษกรรมผู้มีอำนาจตัดสินใจเรื่องวัคซีน ซึ่งการเสนอและออกกฎหมายเพื่อยกเว้นความรับผิดเป็นเครื่องมือหลักที่รัฐบาลพล.อ.ประยุทธ์ ใช้มาตั้งแต่การทำรัฐประหาร 2557
49127443701_b1d17ec629_o
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ: ยกเลิก ‘มาตรา 279’ ลบล้างผลพวงรัฐประหาร

ในปัจจุบันสถานะของ คสช. จะสิ้นสุดลงไปแล้วหลังมีคณะรัฐมนตรีชุดใหม่เข้ามาทำหน้าที่ แต่รัฐธรรมนูญ ปี 2560 ยังให้การรับรองการใช้อำนาจของ คสช. ที่ผ่านมาไว้อยู่ ทำให้การตรวจสอบอำนาจหรือลบล้าผลพวงจากการใช้อำนาจดังกล่าว หรือการเอาผิดการใช้อำนาจโดยมิชอบไม่สามารถกระทำได้ และอาจนำไปสู่การสร้างวัฒธรรม "ลอยนวลพ้นผิด" ที่ไม่มีใครต้องรับผิดชอบ  ด้วยเหตุนี้จึงเป็นที่มาของข้อเสนอทั้งจากพรรคการเมืองและภาคประชาชนที่เสนอให้ยกเลิกมาตรา 279 ของรัฐธรรมนูญเพื่อลบล้างผลพวงการรัฐประหารหรือบรรดาอำนาจและการกระทำของคณะรัฐประหาร