puethai
อ่าน

เรียกปรับทัศนคตินักการเมืองฟากเพื่อไทย มาตรการที่ไม่ได้ผลแต่ยังคงย้ำคิดย้ำทำ

จากกระแสเจ้าหน้าที่ทหารพาตัวนักการเมืองอย่าง ‘วรชัย เหมะ’ อดีต ส.ส.เพื่อไทย ไปปรับทัศนคติ ซึ่งแม้จะถูกปล่อยตัวเเเล้ว แต่ขณะถูกควบคุมตัวเราแทบไม่ทราบชะตากรรมว่าถูกพาตัวไปสถานที่ไหน อีกวันต่อมา ‘วัฒนา เมืองสุข’ ก็ถูกทหารนำกำลังไปที่บ้านก่อนพาตัวไปที่มทบ.11 เพื่อปรับทัศนคติ หลังโพสต์ข้อความบนเฟซบุ๊กถึงกรณีการเรียกตัววรชัยเข้าค่าย  ช่วงปีที่ผ่านมานักการเมืองจากฟากพรรคเพื่อไทยหลายคนต่างถูกเรียกตัวเข้าค่ายทหาร จากเหตุวิพากษ์วิจารณ์การเมืองและการทำงานของรัฐบาลคสช.
Untitled-14
อ่าน

902 คนเป็นอย่างน้อยที่ถูกเรียกปรับทัศนคติและเยี่ยมถึงบ้าน ในยุครัฐบาล คสช.

การเรียกบุคคลเพื่อไปปรับทัศนคติของรัฐบาล คสช.ยังคงเป็นเครื่องมือที่ถูกใช้อย่างต่อเนื่องนับตั้งแต่หลังรัฐประหารในเดือนพฤษภาคม 2557 ซึ่งผู้ที่ตกเป็นเป้าหมายหลักคือคนหรือกลุ่มที่ คสช. และเจ้าหน้าที่รัฐโดยเฉพาะทหารต้องการควบคุมเมื่อถูกมองว่าออกมาเคลื่อนไหวตรงข้ามคสช.
mining bill
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ.แร่ ‘เพราะประโยชน์ของชาติ (นายทุน ข้าราชการ)? ที่สำคัญกว่าชีวิตคน’

21 ต.ค. 2557 ครม.อนุมัติ หลักการร่าง พ.ร.บ.แร่ เสียงคัดค้านจากประชาชนผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการทำเหมืองแร่ก็ดังขึ้น ประชาชนในหลายพื้นที่เรียกร้อง ให้ชะลอร่างกฎหมายฉบับนี้เข้าสู่ สนช. ให้ภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม และรอสภาจากการเลือกตั้ง ขณะนี้ร่างกฎหมายฉบับดังกล่าวอยู่ในการดูแลของคณะกรรมการกฤษฎีกา     
newspaper
อ่าน

แอบดูข้อเสนอปฏิรูปกฎหมายคอรัปชั่น ตามแนวทาง กปปส.

หนึ่งในเหตุผลการชุมนุมของ กปปส. คือการทุจริตคอร์รัปชั่นของนักการเมือง พวกเขาจึงเสนอการปฏิรูประบบการตรวจสอบทุจริตคอร์รัปชั่น เพื่อให้การเมืองไทยโปร่งใสมากขึ้่น น่าสนใจว่าข้อเสนอข้อ กปปส. มีข้อเด่น ข้อด้อยอย่างไร เมื่อเทียบกับกฏหมายที่ใช้อยู่ปัจจุบัน 
anticorrupt
อ่าน

วิธีเอาผิดนักการเมืองโกง (ตามกฏหมาย)

ปัญหาการทุจริตคอร์รัปชันของนักการเมือง เป็นปัญหาหนึ่งในหลายปัญหาที่สำคัญในประเทศไทย ในการชุมนุมของ กปปส. ข้อเรียกร้องหนึ่งคือ การปฎิรูประบบการป้องกัน ปราบปรามการทุจริตคอร์รั่ปชั่น ดังนั้นจึงน่าสงสัยว่า ปัจจุบันระบบการตรวจสอบการทุจริตนักการเมืองทำงานอย่างไร? แล้วเพียงพอหรือไม่ในการควบคุมนักการเมือง?