Thammanat and CONSTITUTIONAL COURT
อ่าน

จับตาตุลาการศาลรัฐธรรมนูญชุดใหม่พิจารณาคดีถอดถอน ร.อ.ธรรมนัส

17 มิถุนายน 2563 ศาลรัฐธรรมนูญมีมติรับคำร้องขอให้วินิจฉัยสมาชิกภาพความเป็น ส.ส. และรัฐมนตรีของ ร.อ.ธรรมนัส พรหมเผ่า เนื่องจากขัดกับรัฐธรรมนูญที่ห้ามผู้เคยต้องคำพิพากษาถึงที่สุดในกฎหมายว่าด้วยยาเสพติดมาดำรงตำแหน่ง ส.ส.และรัฐมนตรี ทั้งนี้ถือว่าเป็นคดีเกี่ยวกับการตรวจสอบคุณสมบัตินักการเมืองคดีแรกของศาลรัฐธรรมนูญชุดใหม่ 4 คนที่เข้ารับตำแหน่งเมื่อ 1 เมษายน 2563  
Comparison of Constitutional Courts
อ่าน

เปรียบเทียบที่มาตุลาการศาลรัฐธรรมนูญหลายประเทศ ไทยยัง ‘พิเศษ’ ที่ให้โควต้าข้าราชการ

ศาลรัฐธรรมนูญมีหน้าที่หลักเป็นองค์กร ‘พิทักษ์รัฐธรรมนูญ’ คอยตรวจสอบว่า กฎหมายขัดแย้งกับรัฐธรรมนูญหรือไม่ ด้วยบทบาทที่กำหนดความเป็นไปทางการเมือง ทำให้สังคมตั้งคำถามถึงอำนาจที่ล้นเหลือของศาลรัฐธรรมนูญ และ “ที่มา” ของคนที่จะมาดำรงตำแหน่ง ตุลาการที่มาจากสายข้าราชการของไทยนั้นเป็นระบบเฉพาะตัวมากที่ไม่เหมือนระบบของประเทศอื่น 
Constitutional court
อ่าน

สรุปรัฐธรรมนูญ 2560: เปิดที่มาศาลรัฐธรรมนูญในรอบ 20 ปี ลดจำนวนตุลาการสายวิชาการ เพิ่มข้าราชการ

ศาลรัฐธรรมนูญมีอำนาจเกี่ยวพันกับการเมือง จึงเกิดคำถามถึงความยึดโยงกับประชาชน รัฐธรรมนูญ 2560 ให้มีตุลาการเก้าคน แบ่งเป็นผู้พิพากษาห้าคน ผู้ทรงคุณวุฒิสายวิชาการและสายราชการอย่างละสองคน ทั้งนี้ ที่มาของศาลรัฐธรรมนูญเปลี่ยนแปลงเรื่อยมาตั้งแต่จัดตั้งครั้งแรกในรัฐธรรมนูญ 2540 โดยสัดส่วนผู้ทรงคุณวุฒิสายวิชาการลดลงจากห้าคนเหลือสองคนในรัฐธรรมนูญ 2560
เปิด 5 เรื่องเด่น นุรักษ์ มาประณีต อดีตประธานศาลรัฐธรรมนูญ องคมนตรีคนล่าสุด
อ่าน

เปิด 5 เรื่องเด่น นุรักษ์ มาประณีต อดีตประธานศาลรัฐธรรมนูญ องคมนตรีคนล่าสุด

จากที่เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา ได้ประกาศแต่งตั้ง นุรักษ์ มาประณีต อดีตประธานศาลรัฐธรรมนูญ เป็นองคมนตรี มาดูกันว่าชีวิตของนุรักษ์ตั้งแต่ก่อนเป็นตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ จนกระทั่งได้เป็นองคมนตรี มีผลงานเด่นๆ อะไรบ้าง
ที่ประชุมใหญ่ศาลปกครองสูงสุด เลือก บรรจงศักดิ์ วงปราชญ์ ส่งให้ ส.ว. ลงมติเป็นตุล
อ่าน

ที่ประชุมใหญ่ศาลปกครองสูงสุด เลือก บรรจงศักดิ์ วงปราชญ์ ส่งให้ ส.ว. ลงมติเป็นตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ

4 มีนาคม 2563 ที่ประชุมใหญ่ตุลาการศาลปกครองสูงสุด มีมติเลือก บรรจงศักดิ์ วงศ์ปราชญ์ ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุด เพื่อส่งให้วุฒิสภาลงมติให้ดำรงตำแหน่งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ แทนที่ ชั่งทอง โอภาสศิริวิทย์ ผู้ได้รับคัดเลือกจากศาลปกครองสูงสุดคนก่อน ที่วุฒิสภามีมติไม่เห็นชอบให้ดำรงตำแหน่งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ
ชำแหละคำวินิจฉัยส่วนตนของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ: คดียุบพรรคอนาคตใหม่
อ่าน

ชำแหละคำวินิจฉัยส่วนตน 9 ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ: คดียุบพรรคอนาคตใหม่

หลังจากคำวินิจฉัยส่วนตนของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญในคดียุบพรรคอนาคตใหม่ออกมาแล้ว หลายคนคงสงสัยว่าตุลาการแต่ละคนให้ความเห็นว่าอย่างไร เราได้ชำแหละคำวินิจฉัยออกมาให้ทุกคนได้เข้าใจไปพร้อมๆ กัน
Constitutional Court Judge
อ่าน

เปิดคำวินิจฉัย 2 ตุลาการเสียงข้างน้อย ไม่ยุบพรรคอนาคตใหม่

เว็บไซต์ศาลรัฐธรรมนูญเผยแพร่คำวินิจฉัยของตุลาการแต่ละคน เรียกว่า 'คำวินิจฉัยส่วนตน' ซึ่งแต่ละคนจะอธิบายเหตุผลว่าผิดหรือไม่ผิดอย่างไร มีตุลาการ 2 เสียงที่ชี้ว่า อนาคตใหม่ไม่มีความผิดให้ต้องยุบพรรค ติดตามได้ในคำวินิจฉัยฉบับเต็มของ 2 ตุลาการเสียงข้างน้อย
ส.ว. กับการเห็นชอบบุคคลให้ดำรงตำแหน่ง
อ่าน

ส.ว.แต่งตั้ง: ส.ว.กับการเห็นชอบบุคคลให้ดำรงตำแหน่งในองค์กรของรัฐและองค์กรอิสระ

ตามรัฐธรรมนูญ 2560 สมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) ชุดแรก จำนวน 250 คน ทั้งหมดถูกเลือกและแต่งตั้งโดยคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) และมีวาระในการดำรงตำแหน่งยาวนานถึงห้าปี มาดูกันว่า ตั้งแต่เปิดประชุมวุฒิสภา วันที่ 24 พฤษภาคม 2562 จนถึงขณะนี้ที่ระยะเวลาผ่านไปเกือบ 2 ปีของการดำรงตำแหน่ง ส.ว.ให้ความเห็นชอบผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรใดบ้าง และเห็นชอบใครไปแล้วบ้าง
49682457551_582f6e4883_o
อ่าน

เปิดเหตุผลตุลาการเสียงข้างน้อย เมื่อยุบพรรคแล้วให้ตัดสิทธิตลอดชีวิต

การที่กฎหมายไม่กำหนดระยะเวลาให้ชัดเจนว่า จะตัดสิทธิเลือกตั้งได้นานเท่าใด ทำให้เกิดการตีความ จนกระทั่งกรรมการบริหารพรรคการเมืองถูกเพิกถอนสิทธิรับสมัครเลือกตั้งตลอดชีวิตก็เป็นได้