Seminar : Election Commission of Thailand
อ่าน

แก้ปัญหาการทำงานที่บกพร่องของ กกต. ต้องแก้รัฐธรรมนูญ

18 กรกฎาคม 2563 กลุ่ม New Consensus Thailand ได้จัดเวทีสาธารณะในหัวข้อ “กกต. ไทย อย่างไรต่อดี” วงเสวนาได้กล่าวถึงสภาพปัญหาเชิงโครงสร้างของ กกต. อำนาจนิยมที่แอบแฝงอยู่ในโครงสร้าง การทำงานของ กกต. ที่ขาดมาตรฐานชัดเจน และหนทางแก้ไขปัญหาทั้งระยะสั้นและระยะยาว
Military
อ่าน

กองทัพไม่โปร่งใสเพราะกฎหมายไม่เอื้อให้ตรวจสอบ

กองทัพไทยเป็นหน่วยงานที่ถูกตั้งแง่เรื่องความโปร่งใสมาโดยตลอด และผู้เปิดโปงการทุจริตภายในกองทัพต้องถูกลงโทษทางวินัยและให้ออกจากราชการ สะท้อนให้เห็นว่ากลไกและกฎหมายภายในกองทัพเป็นอุปสรรคสำคัญที่ทำให้กองทัพไทยเป็นหน่วยงานที่ขาดความโปร่งใส-ตรวจสอบไม่ได้
Military Reform
อ่าน

กลไกร้องเรียนทุจริตที่บิดเบี้ยว สู่เส้นทางการปฏิรูปกองทัพ

5 มิถุนายน 2563 ได้มีการจัดแถลงข่าวกรณี “หมู่อาร์ม” ทหารที่เปิดโปงการทุจริตภายในกองทัพ และการเสวนาในหัวข้อ “เส้นทางการปฏิรูปกองทัพ” เพื่อนำไปสู่การจุดประเด็นการปฏิรูปกองทัพให้เข้ากับบริบททางสังคม
อ่าน

สี่ปี คสช. ปฏิรูปคอร์รัปชั่น ตั้งหลายกลไกแบบ ‘บนลงล่าง’ ทำโดยทหารไม่ตรวจสอบทหารเอง

การปราบคอร์รัปชั่นตลอดสี่ปีของ คสช. ทำอะไรไปหลายอย่าง ทั้งรัฐธรรมนูญฉบับใหม่กับกลไกจัดการนักการเมือง, ตั้งองค์กรใหม่ 4 แห่ง ออกประกาศและคำสั่งของ คสช. อย่างน้อย 39 ฉบับ, ออกพ.ร.บ.อย่างน้อย 9 ฉบับ แต่งตั้งและถอดถอนข้าราชการหลายร้อยคน ทั้งหมดเป็นการใช้อำนาจที่ประชาชนไม่มีส่วนร่วม และยังไม่แตะต้องสถาบันทหารเลย
44
อ่าน

มาตรา 44 กับอำนาจถอดถอน แต่งตั้ง โยกย้าย ระงับการทำงานของเจ้าหน้าที่ของรัฐ

iLaw ได้ทบทวนเกี่ยวกับคำสั่งหัวหน้า คสช. โดยอาศัยอำนาจตามมาตรา 44 ในเรื่องของการถอดถอน โยกย้าย แต่งตั้ง และตรวจสอบการทุจริตของเจ้าหน้าที่รัฐ พบว่ามีการใช้คำสั่งหัวหน้า คสช. เกี่ยวกับเรื่องการโยกย้ายเจ้าหน้ารัฐอย่างน้อย 6 ฉบับ การแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รัฐอย่างน้อย 10 ฉบับ และคำสั่งที่เกี่ยวข้องกับการสั่งพักงาน โยกย้าย หรือถอดถอนเจ้าหน้าที่ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการทุจริตอีกอย่างน้อย 6 ฉบับ