13147560_1699358260303613_8448181501456747075_o
อ่าน

ปัญหาและข้อสังเกตต่อเนื่องจากการตรวจสอบการสนทนาของ “บุรินทร์” กับ “แม่จ่านิว”

ยังคงหยิบยกมาเป็นบทเรียนได้อย่างต่อเนื่อง จากการที่ตำรวจนำบทสนทนาส่วนตัวของ “บุรินทร์” และ “แม่จ่านิว” มาตั้งข้อหา “หมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์ฯ” ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 โดยสิ่งที่น่าสนใจก็คือ วิธีการได้มาซึ่งข้อมูลหรือพยานหลักฐาน เพราะกรณีดังกล่าวย่อมส่งผลเสียต่อสิทธิความเป็นส่วนตัวและระบบยุติธรรมในภาพรวม ขอบคุณรูปภาพจาก
Wilaiwan Saetia
อ่าน

ฟังเสียงปฏิรูป: เสียงจาก “คนงาน” ถึงข้อเสนอ “ธนาคารแรงงาน” ของ สปช.

สปช. เสนอจัดตั้งธนาคารแรงงานเพื่อแก้ปัญหาหนี้นอกระบบและสนับสนุนให้คนงานมีเงินออม ข้อเสนอนี้ดูเหมือนจะเป็นความหวังของผู้ใช้แรงงาน แต่สิ่งสำคัญที่ขาดหายไปคือการฟังเสียงของผู้เกี่ยวข้องโดยตรงอย่าง “คนงาน” ทำให้ธนาคารอาจไม่สามารถเป็นที่พึ่งของพวกเขาได้ เห็นได้ชัดจากโครงสร้างกรรมการธนาคารที่รัฐเป็นคนแต่งตั้งทั้งหมด
seminar
อ่าน

เสรีภาพการชุมนุม: ความหมายไม่ได้เขียนโดยศาล-ปัญหามาจากมหาวิทยาลัย

เสวนา “ก้าวต่อไปเสรีภาพในการชุมนุม มองผ่านคำพิพากษา” สมชาย ปรีชาฯชี้ ศาลไม่คงเส่นคงวา สังคมต้องช่วยกันให้ความหมายเสรีภาพ กิตติศักดิ์ชี้ มหาลัยบกพร่องที่ไม่สอนเรื่องรัฐธรรมนูญ ทนายชี้ศาลไม่รับฟังเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ
อ่าน

23-30 สค.นี้ อดีตคนงานไทรอัมพ์ขึ้นศาล เป็นจำเลยคดีชุมนุมโดยไม่สงบ

ในปี 2552 หลังคนงานไทรอัมพ์ออกมาชุมนุมเพื่อจะยื่นหนังสือต่อนายกฯ ร้องเรียนการถูกเลิกจ้าง แต่กลับถูกตำรวจเปิดเครื่อง LRAD หรือเครื่องส่งเสียงรบกวนระยะไกลใส่ ส่งผลให้บางส่วนมีอาการวิงเวียน บ้างถึงขั้นแก้วหูอักเสบ ต่อมาแกนนำผู้ชุมนุมถูกฟ้องคดีฐานชุมนุมโดยไม่สงบ การสืบพยานจะมีขึ้นครั้งแรกวันที่ 23 สิงหาคมนี้
อ่าน

นักวิชาการจี้กรรมการสิทธิฯ หาทางออกมาตรา 112

อนุกรรมการด้านสิทธิฯ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน ได้จัดวงพูดคุยแลกเปลี่ยนปัญหา กรณีการบังคับใช้มาตรา 112 ของประมวลกฎหมายอาญา โดยมีนักวิชาการ ผู้ที่ได้รับผลกระทบ และผู้เข้าร่วมรับฟังอื่นๆเป็นจำนวนมาก