อ่าน

สี่ปี คสช. ใช้มาตรา44 + สนช. เข้ายึดองค์กรอิสระได้เบ็ดเสร็จตามใจ

ระหว่างที่วุฒิสภาไม่มีอยู่ สนช. ที่ คสช. แต่งตั้งใช้อำนาจแทน รวมไปถึงการเห็นชอบคนเข้าไปอยู่ในองค์กรอิสระที่ทำหน้าที่ตรวจสอบทุจริต คสช. ยังใช้มาตรา 44 ออกคำสั่งหัวหน้า คสช. อีก 14 ฉบับเพื่อเข้าไปออกแบบการสรรหาองค์กรอิสระโดยตรง และมีไม้ตายสุดท้าย คือ ใช้การเซ็ตซีโรให้เริ่มการสรรหาใหม่ทั้งหมด
อ่าน

สี่ปี คสช. ปฏิรูปคอร์รัปชั่น ตั้งหลายกลไกแบบ ‘บนลงล่าง’ ทำโดยทหารไม่ตรวจสอบทหารเอง

การปราบคอร์รัปชั่นตลอดสี่ปีของ คสช. ทำอะไรไปหลายอย่าง ทั้งรัฐธรรมนูญฉบับใหม่กับกลไกจัดการนักการเมือง, ตั้งองค์กรใหม่ 4 แห่ง ออกประกาศและคำสั่งของ คสช. อย่างน้อย 39 ฉบับ, ออกพ.ร.บ.อย่างน้อย 9 ฉบับ แต่งตั้งและถอดถอนข้าราชการหลายร้อยคน ทั้งหมดเป็นการใช้อำนาจที่ประชาชนไม่มีส่วนร่วม และยังไม่แตะต้องสถาบันทหารเลย
อ่าน

ยุค คสช. แก้กฎหมาย ป.ป.ช. 3 รอบ ก่อนรื้อใหม่ทั้งฉบับ ย้อนกลับไปกลับมา

เพื่อปฏิรูปการปราบปรามทุจริต คสช. แก้กฎหมาย ป.ป.ช. ไปสามรอบ รอบแรกโดยออกเป็นประกาศ คสช. ส่วนอีกสองรอบผ่านทาง สนช. แต่สุดท้ายเมื่อปี 2560 ก็ต้องเขียนกฎหมาย ป.ป.ช. กันใหม่ทั้งฉบับตามรัฐธรรมนูญใหม่ สิ่งที่แก้ไขกันไปบางอย่างก็ยังเหลืออยู่ แต่บางอย่างกลับหายไปเลย
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: ศาลรัฐธรรมนูญกับบทบาท “คนดี” ของมีชัย

หนึ่งในประเด็นที่สังคมให้ความสนใจก็คือเรื่องอำนาจของศาลรัฐธรรมนูญ เพราะนับตั้งแต่ร่างรัฐธรรมนูญของบวรศักดิ์ อุววรณโณ จนถึงมีชัย ฤชุพันธ์ ทั้งสองร่างให้ศาลรัฐธรรมนูญเป็นกลไกหนึ่งที่มีอำนาจควบคุมการบริหารประเทศ ซึ่งจะส่งผลต่อรัฐบาลต่อไปอย่างแน่นอน
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: กลไกการปราบ(โกง) “นักการเมือง”

วิธีการปราบโกงที่ดีเป็นอย่างไรนั้น เป็นเรื่องยากที่จะหาคำตอบ แต่ทว่าเมื่อ มีชัย ฤชุพันธ์ ในฐานะประธานกรรมการยกร่างรัฐธรรมนูญได้อวดสรรพคุณร่างรัฐธรรมนูญของตนว่า เป็นฉบับ "ปราบโกง" ดังนั้น มันจึงควรค่าแก่การศึกษาว่าอะไรที่เรียกว่าปราบโกง และมันมีขั้นตอนอย่างไร