52597597059_1ed48d80a3_o
อ่าน

RECAP2022: รวมไฮไลท์ความเคลื่อนไหวทางการเมืองแห่งปี

ในปี 2565 มีเหตุการณ์สำคัญทางการเมืองเกิดขึ้นหลายอย่าง แต่มีอย่างน้อยแปดเรื่องที่เราอยากจะไฮไลท์เพื่อให้ทุกคนมองเห็นความเคลื่อนไหวทางการเมืองที่เกิดขึ้นตลอดปี และสิ่งเหล่านี้อาจจะส่งผลต่อการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ในอนาคต
52503365272_1a90fb845a_o (1)
อ่าน

สายน้ำ: คดีเยาวชนต้องถูกปฏิบัติอย่างเป็นธรรมและเปิดเผยการพิจารณาได้

ภายหลัง “มาตรา 112” ถูกรัฐบาลนำกลับมาใช้ดำเนินคดีกับประชาชนอีกครั้งเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2563 สถิติของศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชนระบุว่า ในจำนวนมากกว่า 200 คดี มี 20 คดีที่ผู้ถูกดำเนินคดียังเป็นเยาวชน รวมทั้งหมด 17 คน (ข้อมูลล่าสุดเมื่อ 17 พฤศจิกายน 2565) นี่เป็น “ครั้งแรก” ในประวัติศาสตร์ไทย ที่มีการนำกฎหมายมาตราดังกล่าว ซึ่งมีโทษสูงสุดถึง 15 ปี มาบังคับใช้กับเด็กอายุไม่เกิน 18 ปี สายน้ำ (สงวนชื่อและนามสกุลจริง) อดีตนักเรียนมัธยมปลาย เป็นหนึ่งในเยาวชน
52474242916_336241aeee_h
อ่าน

เลือกตั้ง 66: ย้อนประวัติศาสตร์ เปิดสามกลโกง ส่ง ”พรรคอันดับสอง” ขึ้นเป็นรัฐบาล

ตามธรรมเนียมของระบอบประชาธิปไตยที่ใช้ระบบรัฐสภา นายกรัฐมนตรีและรัฐบาลต้องเป็นพรรคที่มีจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) มากเป็นอันดับหนึ่งของสภา เนื่องจากเป็นตัวแทนเสียงข้างมากของประชาชน แต่ทว่า ถ้าย้อนดูการเมืองไทยในอดีตจนถึงปัจจุบัน มีหลายยุคหลายสมัยที่พรรคการเมืองซึ่งมีจำนวน ส.ส. มากเป็นอันดับสอง สามารถจัดตั้งรัฐบาลแทนพรรคที่มีจำนวน ส.ส. มากที่สุด เป็นอันดับหนึ่ง ได้ เนื่องจากมีกลไกในการสืบทอดอำนาจอยู่ 
306702837_10166922427330551_4469508155823211307_n
อ่าน

112 ALERT! ชวนเปิดแฟ้ม “นิว จตุพร” คดีแต่งชุดไทยเดินแฟชั่นที่สีลม ก่อนพิพากษา

ย้อนกลับไปเมื่อปลายปี 2563 ในกิจกรรมแต่งชุดไทยเดินแฟชั่น “รันเวย์ของประชาชน” ที่ถนนสีลม หลายคนอาจคุ้นตาภาพของผู้เข้าร่วมกิจกรรมร่างเล็ก ตัดผมสั้น สวมชุดไทยสีชมพู และมีคนถือร่มสีแดงเดินตามหลัง   เธอมีชื่อว่า จตุพร หรือ “นิว” สมาชิกกลุ่มบุรีรัมย์ปลดแอก และสมาชิกกลุ่มมวลชนอาสา We Volunteer (Wevo)  
Revisiting National Reform Plan
อ่าน

ทบทวนกระบวนการปรับปรุงแผนการปฏิรูปประเทศ ล่าช้า ติดขัด กินเวลาเกือบ 2 ปีครึ่ง

กระบวนการจัดทำแผนตามกฎหมายที่ออกโดยสนช. ออกแบบให้แผนการปฏิรูปการประเทศซึ่งเป็นแผนย่อยจัดทำแล้วเสร็จก่อนยุทธศาสตร์ชาติ ทำให้ต้องมีการกลับมาทบทวนแก้ไขอีกครั้ง ซึ่งก็ต้องพบกับความล่าช้าเข้าไปอีกเมื่อคณะรัฐมนตรีให้ขยายเวลาปรับปรุงแผนการปฏิรูปประเทศออกไปและมีการตั้งคณะกรรมการปฏิรูปประเทศชุดใหม่เข้ามาจัดทำแทน เมื่อพิจารณาถึงเส้นตาย 5 ปีที่การปฏิรูปประเทศจะต้องเห็นผลแล้ว รัฐบาลต้องเสียเวลากับการร่างและแก้ไขแผนไปมากกว่าครึ่งหนึ่ง
8years
อ่าน

ครบรอบ 8 ปี คสช. ทิ้งมรดกไว้เพียบบบบบ

แม้ว่าในทางกฎหมาย คสช. จะสิ้นสภาพไปแล้ว แต่คนของคณะรัฐประหารก็ยังคงอยู่ในอำนาจเช่นเดิม และ "มรดก" ที่ คสช. ทิ้งไว้ในระบบกฎหมายอีกมากมาย นับจนถึงปี 2565 อำนาจในการปกครองประเทศก็ยังไม่ได้อยู่ในมือประชาชน และการใช้อำนาจรัฐก็ยังมีลักษณะกับระยะเวลา 8 ปีที่ผ่านมา 
Bangkok and Pattaya election comic
อ่าน

“เขาอยากไปต่อ” คสช. ทำอะไรไปบ้างกับเมืองพัทยาและกรุงเทพฯ

แม้ คสช. จะไม่มีอยู่แล้วในการเลือกตั้ง 22 พฤษภาคมที่จะถึงนี้ แต่ก็ยังมรดกของคณะรัฐประหารหลงเหลืออยู่ ไม่ว่าจะอยู่ในรูปแบบของกฎหมายหรือคนหน้าเก่า ชวนอ่านการ์ตูนย้อนดูมรดกคณะรัฐประหารในกรุงเทพฯ และเมืองพัทยา  
12 years of Bangkok under Democrat Party and NCPO
อ่าน

ย้อนความจำ 12 ปี กรุงเทพฯ ภายใต้ประชาธิปัตย์ กปปส. และ คสช.

คนเมืองหลวงไม่ได้เลือกตั้งท้องถิ่นของตนเองเป็นเวลากว่า 9 ปี จุดเริ่มต้นของการตัดสิทธิเลือกตั้งเกิดขึ้นเมื่อมีการรัฐประหาร 2557 จากนั้นเครือข่าย คสช. ก็เริ่มดำเนินการเข้าแทรกแซง กทม.ทั้งงานบริหารและงานนิติบัญญัติเป็นเวลาเกือบหนึ่งทศวรรษ
seminar
อ่าน

เสวนา 5 ปีรัฐธรรมนูญ สิทธิเสรีภาพถดถอยใต้โครงสร้างรัฐรวมศูนย์

6 เมษายน 2565 คณะรณรงค์เพื่อรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน (ครช.) ร่วมกับกลุ่มเคลื่อนไหวเรียกร้องประชาธิปไตยและกลุ่มฟื้นฟูประชาธิปไตย (DRG) จัดงานเสวนาในหัวข้อ “5 ปี รัฐธรรมนูญ 60 : สิทธิเสรีภาพที่หายไป ภายใต้โครงสร้างรัฐใหม่ที่รวมศูนย์”
Look back in 20 years of national human right commission of Thailand
อ่าน

วงเสวนาชี้ บทบาท กสม. ในรอบสองทศวรรษยังล้มเหลว-พึ่งพาไม่ได้

9 มีนาคม 2565 สถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา มหาวิทยามหิดล จัดงานเสวนาในหัวข้อ "เหลียวหลังแลหน้า 2 ทศวรรษสิทธิมนุษยชนในสังคมไทย: เราจะก้าวไปด้วยกัน" ซึ่งงานดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของการค้นคว้าวิจัยเพื่อทบทวนบทบาทและการทำงานในรอบ 2 ทศวรรษขององค์กรสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ