51304084533_7e691e152e_o
อ่าน

4 เหตุผลที่ต้องยุบ ศบค.

การดำเนินการของ ศบค. ทำให้เกิดการระบาดของเชื้อโควิด-19 ถึงสามระลอก จนเกินศักยภาพในการรับมือของสาธารณสุข และการเยียวยาประชาชนก็ไม่ตรงจุดและไม่ทั่วถึง ทำให้มีการตั้งคำถามถึงความจำเป็นในการมี ศบค. ในการแก้ไขปัญหาจนมีข้อเสนอในมีการยุบ ศบค. ด้วยมีเหตุผลดังนี้
อ่าน

ร่าง ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านความมั่นคง: ยุติปัญหาความไม่สงบภาคใต้ภายในปี 2569

การจัดทำร่างยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง รัฐบาล คสช. แต่งตั้ง พลเอกวรพงษ์ สง่าเนตร เป็นประธานคณะกรรมการฯ รวมด้วยกรรมการฯ อีกจำนวน 9 คน หลังจัดรับฟังความคิดเห็นประชาชนร่างยุทธศาสตร์ชาติฉบับนี้จะถูกแก้ไขเพิ่มเติมก่อนจะถูกเสนอต่อคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ
Seminar on Article 116
อ่าน

กสม.-นักกฎหมาย ชี้ รัฐใช้ ม.116 เป็นเครื่องมือปิดปาก พร้อมจี้ปฏิรูปกระบวนการยุติธรรม

ไอลอว์ จัดงานเสวนาหัวข้อ “มาตรา 116: ยุยงปลุกปั่น มั่นคงหรือมั่วนิ่ม” เพื่อสะท้อนถึงปัญหาการบังคับใช้ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 116 ที่กลายเป็นเครื่องของรัฐในการจำกัดการแสดงออก โดยเฉพาะการวิพากษ์วิจารณ์รัฐบาลในยุคคสช. เพราะในจำนวนคดีความที่เกี่ยวกับมาตรา 116 ถูกใช้กับการแสดงออกในลักษณะวิพากษ์วิจารณ์ คสช. มากที่สุด  
CCA
อ่าน

กระทรวงดีอีออกประกาศชัด ผู้ให้บริการต้องลบข้อมูลเกี่ยวกับความมั่นคงภายใน 24 ชั่วโมง

22 กรกฎาคม 2560 ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ประกาศกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เรื่อง ขั้นตอนการแจ้งเตือน การระงับการทำให้แพร่หลายของข้อมูลคอมพิวเตอร์และการนำข้อมูลคอมพิวเตอร์ออกจากระบบคอมพิวเตอร์" และประกาศเรื่องอื่นๆ อีก รวม 5 ฉบับ หลังจากเคยเปิดรับฟังความคิดเห็นไปก่อนหน้านี้ 
Cyber security Bill
อ่าน

เปิดรับฟังความเห็น ร่างพ.ร.บ.ความมั่นคงไซเบอร์ฯ : เน้นความมั่นคงทหาร ให้รัฐล้วงข้อมูลได้ เอกชนไม่ทำตามมีบทลงโทษ

กระทรวงดิจิทัลฯ จัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นร่างพ.ร.บ.ความมั่นคงไซเบอร์ฯ เนื้อหาคือเพื่อให้มีหน่วยงานในการรับผิดชอบดำเนินการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ อย่างไรก็ตาม ร่างกฎหมายฉบับนี้ดูจะให้อำนาจกับเจ้าหน้าที่รัฐมากในการดูแลและควบคุมความมั่งคงทางไซเบอร์ 
the National Security Council
อ่าน

พ.ร.บ.สภาความมั่นคงแห่งชาติ “วางแผนความมั่นคงประเทศตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี”

สนช.ผ่านร่าง พ.ร.บ.สภาความมั่นคงแห่งชาติ สาระสำคัญคือการเพิ่มนิยามคำว่า "ความมั่นคง" การเพิ่ม รมต.กระทรวงดิจิทัลและยุติธรรม เข้าไปในสภาความมั่นคงฯ และให้อำนาจหน้าที่ในการร่างนโยบายเกี่ยวกับความมั่นคง ซึ่งต้องร่างตามกรอบยุทธศาสตร์ 20 ปี ของ คสช.
Community Rights
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: ตัด ‘สิทธิในสิ่งแวดล้อมที่ดี’ โบกมือลา องค์กรอิสระด้านสิ่งแวดล้อม

ยังมีความเห็นที่แตกต่างกันในสังคมว่า ร่างรัฐธรรมนูญ ฉบับลงประชามติ จะช่วยคุ้มครองและทำให้สิทธิของชุมชนใช้ได้จริงในทางปฏิบัติมากขึ้นหรือน้อยลง เนื่องจากร่างนี้ ‘ตัดสิทธิ’ การแสดงความคิดเห็นของประชาชนต่อโครงการของรัฐ และตัดขั้นตอนการขอความเห็นชอบจากองค์กรอิสระด้านสิ่งแวดล้อมก่อนดำเนินโครงการต่างๆ 
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: ประชาชนมีสิทธิถ้ากฎหมายไม่ห้าม และไม่กระทบความมั่นคง

ร่างรัฐธรรมนูญ ฉบับลงประชามติ เขียนชัดเจนว่า อะไรที่ไม่ได้ห้ามไว้ในกฎหมายประชาชนมีสิทธิเสรีภาพที่จะทำได้ เท่าที่ไม่กระทบ "ความมั่นคง" เงื่อนไขจำกัดสิทธิข้อนี้ไม่เคยมีในฉบับปี 2540 และ 2550 ส่วนสถานะ "ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์" ก็ถูกจัดวางใหม่  
อ่าน

ก่อนจะถึงมทบ.11: ประวัติศาสตร์ย่นย่อว่าด้วยคุกพิเศษในไทย

การควบคุมตัวนักโทษคดีความมั่นคงในสถานที่พิเศษ เกิดขึ้นหลายครั้งแล้วในประวัติศาสตร์ไทย เช่น ที่ทัณฑสถานเกาะตะรุเตา "แดนพิเศษ" ในเรือนจำบางขวาง หรือเรือนจำพิเศษหลักสี่ ก่อนที่ในยุคปัจจุบันจะประกาศให้ค่ายทหาร มทบ.11 เป็นที่ตั้งของเรือนจำชั่วคราวแขวงถนนนครไชยศรี
Military Court Logo
อ่าน

รู้จักศาลทหาร และข้อสังเกตเรื่องเขตอำนาจ

"ศาลทหาร" เป็นหน่วยงานที่คนสนใจไม่มากนัก จนกระทั่ง "คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ" หรือ คสช. ยึดอำนาจและประกาศให้ความผิดเกี่ยวกับความมั่นคง และการฝ่าฝืนคำสั่ง คสช. ต้องขึ้นศาลทหาร จึงต้องมาดูกันว่าศาลนี้เขามีหน้าตา วิธีพิจารณา และเขตอำนาจอย่างไร