อ่าน

เก็บตกเสวนาคนเสื้อแดง ภาพวาดปีศาจร้ายการเมืองไทย กับณัฐวุฒิ  ใสยเกื้อ 

พิพิธภัณฑ์สามัญชนร่วมกับองค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดงานเสวนาห้วข้อ “คนเสื้อแดง ภาพวาดปีศาจร้ายการเมืองไทย” โดยณัฐวุฒิ  ใสยเกื้อ แกนนำคนเสื้อแดงปี 2553 มาพูดคุยแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับประวัติศาสตร์การต่อสู้ทางการเมืองและการถูกปราบปรามของคนเสื้อแดง
51091127365_9aaace2043_o
อ่าน

ความขัดแย้งทางการเมืองจากผลคำตัดสินของ “ศาลรัฐธรรมนูญ”

ศาลรัฐธรรมนูญถูกก่อตั้งขึ้นครั้งแรกภายใต้รัฐธรรมนูญ ปี 2540 ด้วยความคาดหวังว่า ศาลจะเป็นองค์กรพิทักษ์รัฐธรรมนูญ ทำหน้าที่วินิจฉัยข้อพิพาททางกฎหมายหรือตรวจสอบอำนาจรัฐให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญ แต่หลังวิกฤติการเมืองที่เริ่มต้นในปี 2549 เป็นต้นมา ศาลรัฐธรรมนูญค่อยๆ ขยายบทบาทและเข้ามาเป็นผู้เล่นทางการเมืองเพื่อตอบสนองต่อกลุ่มที่เป็นปรปักษ์กับพรรคการเมืองที่ได้รับเสียงข้างมากจากประชาชน
49911798668_0d12afc6dd_o
อ่าน

10 ปี พฤษภา 53: ศาลทหารและการเอาผิด “ผู้ปฏิบัติการ” ที่ไปไม่ถึงไหน

ตลอด 10 ปี การเอาผิด ‘ผู้ปฏิบัติการ’ ในเหตุการณ์สลายการชุมนุม พฤษภา 2553 ก็ไม่มีความคืบหน้า แม้ว่ามีหลักฐานคำให้การ ผลการชันสูตรและการไต่สวนการตายที่ระบุว่าผู้เสียชีวิตหลายรายเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่ของทหาร แต่ทว่าอัยการทหารก็มีความเห็นสั่งไม่ฟ้อง ทำให้เกิดคำถามสำคัญต่อกระบวนการยุติธรรมสำหรับทหาร หรือ "ศาลทหาร" ว่ามีความถูกต้องเที่ยงธรรมมากแค่ไหน
Military at Bank
อ่าน

ตัดน้ำ ไฟ สื่อสาร ธุรกรรม ทบทวนอำนาจพ.ร.ก.ฉุกเฉิน

รัฐบาลอาศัยอำนาจตามพรก.ฉุกเฉิน สั่งการให้ทหารปิดล้อมพื้นที่การชุมนุม สั่งตัดกระแสไฟฟ้า น้ำประปา ตัดสัญญาณโทรศัพท์ สั่งหยุดการขนส่งมวลชนทั้งรถไฟฟ้า รถใต้ดิน เรือ  ห้ามนำอาหาร น้ำ อุปกรณ์ใดๆเข้าไปให้แก่ผู้ชุมนุม และตัดท่อน้ำเลี้ยงห้ามทำธุรกรรมทางการเงิน แท้ที่จริงแล้วพรก.ฉุกเฉินให้อำนาจเหล่านี้ไว้หรือไม่