51851668814_1e26be9e42_o
อ่าน

ทำไมผู้ต้องหาต้องพิมพ์ลายนิ้วมือ ถ้าไม่พิมพ์แล้วจะมีความผิดหรือไม่

ในกระบวนการสอบสวนผู้ต้องหาในคดีอาญา ‘การพิมพ์ลายนิ้วมือ’ ของผู้ต้องหาถือเป็นหนึ่งในขั้นตอนที่พนักงานสอบสวนจะให้ผู้ต้องหาต้องทำเป็นปกติ การปรากฎภาพผู้ต้องหาชูนิ้วสีดำไม่ใช่แค่คดีการเมืองแต่รวมถึงคดีอาญาอื่นๆ ด้วย จึงเป็นเหมือน “ภาพจำ” เวลาผู้ต้องหามารับทราบข้อกล่าวหาที่สถานีตำรวจ จะต้องมีภาพ “มือดำ” กลับบ้านไป และกลายเป็นภาพจำอีกด้านหนึ่งว่า คนที่ “มือดำ” คืนคนที่ผ่านกระบวนการในฐานะผู้ต้องหาคดีอาญามาแล้ว ทางฝั่งของตำรวจก็อธิบายว่า สาเหตุที่จะต้องเก็บลายพิมพ์นิ้วมือของผู้ต้องหาไว้ทุกครั้งเมื่อผู้ต้องหามารับทราบข้อกล่าว เนื่องจากเป็นพยานหลักฐานที่สามารถเก็บได้ง่ายท
Event talk
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ.คอมฯ ระบุชัด ให้กรรมการ 5 คน สั่งปิดเว็บขัดศีลธรรมอันดี, การไม่ลบข้อมูลเป็นความผิดเพราะคนมี “สิทธิที่จะถูกลืม”

หลักสิทธิที่จะถูกลืม หรือ right to be forgotten ถูกอ้างขึ้นในการร่าง พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ฉบับใหม่ เพื่อเป็นเหตุในการกำหนดความผิดฐานใหม่ ให้ทำลายข้อมูลที่ศาลสั่งว่าผิด ทั้งที่ในทางสากล สิทธิที่จะถูกลืมใช้เพื่อคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พร้อมประเด็นสำคัญการบล็อกเว็บที่ขัดกับศีลธรรมอันดี ทำโดยคณะกรรมการ 5 คนตัดสินใจ
Kanatip
อ่าน

ประสานเสียงอัด มาตรา 14 พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ใช้ผิดเจตนารมณ์ กระทบเสรีภาพออนไลน์

นักกฎหมายชี้ การใช้ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ มาตรา 14(1) ฟ้องคดีหมิ่นประมาทนั้นผิดเจตนารมณ์ สร้างผลกระทบต่อจำเลย เสนอตัดเรื่องนี้ออกจาก พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ เลย SEAPA ระบุ การผลักภาระให้จำเลยพิสูจน์ว่าข้อมูลส่วนไหนเท็จหรือจริง ทำให้นักข่าวทำงานยาก
Dr.Kanatip
อ่าน

ฟังเรื่องกังวลใจของนักกฎหมาย ต่อร่างกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

ร่างกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ฉบับความมั่นคงดิจิทัล มีข้อถกเถียงหลายประการ การเก็บข้อมูลต้องขอความยินยอมก่อนหรือไม่? การทำงานของสื่อมวลชนควรได้รับการยกเว้นหรือไม่? จะสร้างสมดุลระหว่างการค้าขายกับการคุ้มครองอย่างไร? คุยกับรศ.ดร.คณาธิป ทองรวีวงศ์