party disperse
อ่าน

เลือกตั้ง 62: หลักเกณฑ์ 21 ข้อ ที่อาจใช้สั่งยุบพรรคการเมือง

การเลือกตั้งที่จะเกิดขึ้นในวันที่ 24 มีนาคม 2562 เป็นไปตามกฎกติกาที่ คสช. วางไว้ หลักเกณฑ์อย่างหนึ่งที่พรรคการเมืองฝ่ายตรงข้ามกับ คสช. ล้วนหวาดกลัว คือ การ "ยุบพรรคการเมือง" ซึ่งมีกฎหมายหลายฉบับที่เขียนหลักเกณฑ์ไว้รวม 21 ข้อ รอให้ศาลรัฐธรรมนูญเป็นผู้ตัดสิน                  
Debate
อ่าน

เลือกตั้ง 62: กกต. ออกระเบียบ เตรียมจัด “ดีเบต” นโยบายพรรคการเมือง

ในการเลือกตั้งปี 2562 มีกติกาใหม่เรื่องการจัดดีเบตระหว่างผู้สมัครจากพรรคการเมืองก่อนการเลือกตั้ง ซึ่งดำเนินการโดย กกต. เวทีนี้จะแบ่งพรรคการเมืองเป็นกลุ่มพรรคขนาดใหญ่กับพรรคขนาดเล็กตามจำนวน ส.ส. ที่ส่งลงสนาม และให้ออกอากาศทางโทรทัศน์และวิทยุด้วย
-1024x576-1-1
อ่าน

เลือกตั้ง 62: สรุป ระเบียบ-ประกาศ กกต. 9 ฉบับ

ไอลอว์สรุปสาระสำคัญของระเบียบ–ประกาศของคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) เกี่ยวกับการจัดการเลือกตั้ง จำนวน 9 ฉบับ ที่เผยแพร่ในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 11 มกราคม 2562 
ilaw port 2-00
อ่าน

เลือกตั้ง 62: 9 พฤติกรรม คสช. (ส่อ)โกงและเอาเปรียบเลือกตั้ง

ยังไม่ถึงวันเลือกตั้งปี 2562 แต่ก็เห็นเค้าลางของการโกงและเอาเปรียบประชาชนและพรรคการเมืองต่างๆ ของ คสช. ตั้งแต่การออกแบบกติกาที่สร้างความได้เปรียบให้กับตัวเอง การใช้ทรัพยาการของรัฐเพื่อสร้างความนิยมให้ตัวเอง และดึงเวลาเพื่อควบคุมพรรคการเมืองและประชาชนให้เสียเปรียบ นี่คือเก้าข้อที่ คสช. โกงและเอาเปรียบการเลือกตั้ง  
7 Party demanded NCPO
อ่าน

7 พรรคประสานเสียงถึง คสช. ขอเลือกตั้งปี 62 เสรีเป็นธรรมไม่เอาเปรียบคู่แข่ง

วันที่ 14 ตุลาคม 2561 เครือข่าย FFFE จัดเสวนา "การเลือกตั้งที่เสรีและเป็นธรรมกับอนาคตสังคมและการเมืองไทย" โดยมีตัวแทน 7 พรรคการเมืองมาร่วมเวที แต่ละพรรคประสานเสียงถึง คสช. ในฐานะผู้มีอำนาจสูงสุด และ กตต. ในฐานะกรรมการให้จัดการเลือกตั้งในปี 2562 อย่างเสรีและเป็นธรรมไม่ใช้กติกาและอำนาจที่ตัวเองมีเอาเปรียบพรรคการเมืองอื่นๆ
EEC under NCPO
อ่าน

เลือกตั้ง 62: การเลือกตั้งไร้อิสระ – เมื่อ กกต. ถูกยึดด้วยอำนาจ คสช.

กกต. ชุดที่จะมาดูแลการเลือกตั้ง ในปี 2562 กว่าจะได้มาต้องผ่านกลไกต่างๆ ที่ คสช. วางไว้จนพอใจ โดยต้องผ่านความเห็นชอบจากสนช. ถึง 3 ครั้ง รายชื่อผู้สมัคร กกต. ชุดแรกถูก สนช. ตีตกยกชุด ต่อมาครั้งที่สอง สนช. เห็นชอบเลือก กกต. 5 คน ตีตก 2 คน โดยทั้งสองครั้งเป็นการพิจารณา ‘ลับ’ มาดูประวัติกันว่า  กกต.ชุดนี้เป็นใครบ้าง ได้มาอย่างไร
NCPO Election
อ่าน

เลือกตั้ง 62: ของ คสช. โดย คสช. เพื่อ คสช.

การเลือกตั้งในปี 2562 ภายใต้กติกาที่ คสช. ร่างขึ้น บีบรัดให้พรรคการเมืองพบกับความยากลำบาก เมื่อรวมกับองค์ประกอบอื่นๆ เช่น กกต., ประกาศ คสช., อำนาจ ม.44 ฯลฯ ก็แทบจะเห็นได้ว่า การเลือกตั้งครั้งนี้ถูกออกแบบเพื่อให้เป็น “การเลือกตั้งตามแบบของ คสช. โดย คสช. เพื่อ คสช.”    
Vote ECC
อ่าน

เห็นชอบ กกต.: 4 ปี คสช. ยึดองค์กรอิสระและศาลรัฐธรรมนูญครบทุกแห่งแล้ว

12 กรกฎาคม 2561 สนช. พิจารณาเห็นชอบ กกต.จำนวน 7 คน การประชุมครั้งนี้เป็นการประชุมลับและลงคะแนนเสียงลับ โดยที่ประชุม สนช. มีมติเห็นชอบแต่งตั้ง กกต. จำนวน 5 คน และไม่เห็นชอบ จำนวน 2 คน
อ่าน

สี่ปี คสช. ใช้มาตรา44 + สนช. เข้ายึดองค์กรอิสระได้เบ็ดเสร็จตามใจ

ระหว่างที่วุฒิสภาไม่มีอยู่ สนช. ที่ คสช. แต่งตั้งใช้อำนาจแทน รวมไปถึงการเห็นชอบคนเข้าไปอยู่ในองค์กรอิสระที่ทำหน้าที่ตรวจสอบทุจริต คสช. ยังใช้มาตรา 44 ออกคำสั่งหัวหน้า คสช. อีก 14 ฉบับเพื่อเข้าไปออกแบบการสรรหาองค์กรอิสระโดยตรง และมีไม้ตายสุดท้าย คือ ใช้การเซ็ตซีโรให้เริ่มการสรรหาใหม่ทั้งหมด
The lesson learned from Organic Act on the Election Commission B.E. 2560
อ่าน

‘การสรรหา กกต.’ บทเรียนแรกหลังใช้กฎหมายลูกฉบับใหม่

พ.ร.ป.ว่าด้วยคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) พ.ศ.2560 แค่เริ่มประกาศใช้ไม่ถึง 3 เดือน ก็มีปัญหา ไล่ตั้งแต่การหาคนมาเป็นคณะกรรมการสรรหา กกต. ที่ไม่สามารถหาผู้มีคุณสมบัติได้ทันตามกรอบเวลา ไปจนถึงสัดส่วนของผู้สมัครเป็น กกต. ที่ค่อนข้างกระจุกอยู่ในกลุ่มข้าราชการและนักกฎหมาย