อ่าน

GDPR คืออะไร? ดีอย่างไร? EU ถึงใช้คุ้มครองความเป็นส่วนตัวให้ประชาชน

GDPR (General Data Protection Regulation) เป็นกฎระเบียบของ EU ที่ออกมาเพื่อคุ้มครองประชาชนในกลุ่มประเทศ EU จากการที่ความเป็นส่วนตัวและข้อมูลส่วนบุคคลถูกล่วงละเมิดมากขึ้นในโลกยุคใหม่ที่ขับเคลื่อนด้วยข้อมูล กฎหมายนี้เป็นการปรับปรุงมาตรการให้เหมาะสมกับสถานการณ์ที่แตกต่างไปจากเมื่อครั้งออก EU Directive เมื่อปี 1995 
general-data-protection-regulation-europe
อ่าน

ธุรกิจ-ข้อมูลต้องระวัง! สหภาพยุโรปออกมาตรการคุ้มครองข้อมูลส่วนตัว โทษปรับ 20 ล้านยูโร

ระยะหลังๆนี้ เริ่มมีการพูดถึงข้อมูลส่วนบุคคลกันมากขึ้นโดยเฉพาะในแวดวงผู้ประกอบธุรกิจเกี่ยวกับข้อมูล การติดต่อสื่อสารและธุรกิจที่มีฐานข้อมูลส่วนบุคคลขนาดใหญ่ โดยเฉพาะความกังวลต่อ GDPR ซึ่งเป็นข้อบังคับของสหภาพยุโรปเกี่ยวกับการเก็บและการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล และที่ทำให้กลัวกันมากก็เพราะบทลงโทษของผู้ที่ไม่ปฎิบัติตามหลักเกณฑ์ GDPR จะถูกปรับสูงถึง 20 ล้านยูโร ที่สำคัญคือจะมีผลบังคับใช้ในเดือนพฤษภาคม 2561 ที่กำลังจะมาถึง
Loan Education Fund
อ่าน

กยศ.ชี้แจง กฎหมายใหม่ให้อำนาจกองทุนเข้าถึงข้อมูลส่วนบุคคลเท่าที่จำเป็น

ตามที่ไอลอว์เคยนำเสนอเรื่อง พ.ร.บ.กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา กำหนดให้คนที่กู้เงิน กยศ.เรียน ต้องถูกนายจ้างหักเงินเดือนไปจ่ายหนี้ระบบเดียวกับการจ่ายภาษี ต้องยอมให้ กยศ. เข้าถึงข้อมูลส่วนตัวของลูกหนี้และเปิดเผยต่อคนอื่น ต่อมา 27 ธ.ค. 2559 กยศ.ส่งหนังสือแจง เพื่ออธิบายอำนาจตามกฎหมายใหม่ 
Loan Education Fund
อ่าน

กฎหมายใหม่ กยศ. เพิ่มอัตราดอกเบี้ย-หักเงินเดือนชำระหนี้-เข้าถึงข้อมูลส่วนตัวผู้กู้

กองทุน กยศ. มีหนี้เสียติดตามไม่ได้ก้อนมหึมา เลยกำลังจะออกกฎหมายฉบับใหม่มาแก้ไขปัญหาคนเรียนจบแล้วไม่ชำระหนี้ สำคัญคือ ต่อไปนี้คนที่กู้เงิน กยศ. เรียน จะต้องถูกนายจ้างหักเงินเดือนไปจ่ายหนี้ ระบบเดียวกับการจ่ายภาษี แล้วต้องเปิดให้กองทุน กยศ. เข้าถึงข้อมูลส่วนตัวของลูกหนี้ได้ด้วย
Event talk
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ.คอมฯ ระบุชัด ให้กรรมการ 5 คน สั่งปิดเว็บขัดศีลธรรมอันดี, การไม่ลบข้อมูลเป็นความผิดเพราะคนมี “สิทธิที่จะถูกลืม”

หลักสิทธิที่จะถูกลืม หรือ right to be forgotten ถูกอ้างขึ้นในการร่าง พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ฉบับใหม่ เพื่อเป็นเหตุในการกำหนดความผิดฐานใหม่ ให้ทำลายข้อมูลที่ศาลสั่งว่าผิด ทั้งที่ในทางสากล สิทธิที่จะถูกลืมใช้เพื่อคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พร้อมประเด็นสำคัญการบล็อกเว็บที่ขัดกับศีลธรรมอันดี ทำโดยคณะกรรมการ 5 คนตัดสินใจ
5156624013_b3c80ac310_b
อ่าน

ความเป็นส่วนตัวภายใต้รัฐธรรมนูญใหม่ “ต้องจับตา”

โลกปัจจุบันการเข้าถึงและการประมวลผลข้อมูลสามารถทำได้ง่ายและรวดเร็ว ด้วยความสามารถของคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต แต่ปัญหาที่ตามมากคือ "การละเมิดล่วงล้ำความเป็นส่วนตัว" ทั้งนี้ สิทธิดังกล่าวเป็นสิทธิพื้นฐานที่ได้รับการรับรองมาโดยตลอด จวบจนร่างรัฐธรรมนูญ 2559 แต่ทว่าแนวทางของรัฐบาลปัจจุบันทำให้เราต้องจับตากฎหมายลูกให้มากขึ้นด้วยวิธีเขียนที่ต่างออกไป
pic04
อ่าน

ยื่น 40,000 รายชื่อผู้ใช้เน็ตหยุด Single Gateway หยุดกฎหมายล้วงข้อมูลส่วนบุคคล

วันที่ 7 กรกฎาคม 2559 ตัวแทนเครือข่ายพลเมืองเน็ตยื่น 40,000 รายชื่อ (ตัวเลข ณ วันที่ 6 กรกฎาคม 2559) ที่ร่วมกันรณรงค์ออนไลน์ผ่าน change.org “หยุด Single Gateway หยุดกฎหมายล้วงข้อมูลส่วนบุคคล” ต่อ นายพีระศักดิ์ พอจิต รองประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) คนที่สอง เพื่อเรียกร้องให้ชะลอการพิจารณาร่างแก้ไข พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ที่มีปัญหาในแง่การจำกัดสิทธิเสรีภาพของประชาชน โดยเฉพาะเสรีภาพในการแสดงออกและการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร อีกทั้งจะรบกวนการทำงานของระบบอินเทอร์เน็ต ทำให้การใช้งานอินเทอร์เน็ตไม่ปลอดภัย
Privacy Act
อ่าน

19 ประเด็นสำคัญที่เปลี่ยนแปลงในร่าง พ.ร.บ.คุ้มครอง Privacy (ฉบับความมั่นคงดิจิทัล)

ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ถูกเสนอสู่สนช.แล้วครั้งหนึ่ง แต่ถูกเสนอซ้ำอีกครั้งในชุด "กฎหมายความมั่นคงดิจิทัล" ซึ่งมีเนื้อหาเปลี่ยนไปมาก ใช้หลัก "แจ้งให้ทราบ" เมื่อเก็บข้อมูล โดยไม่ต้องขอความยินยอม ย้ายงานข้อมูลส่วนบุคคลมาอยู่ใต้สำนักงานความมั่นคงไซเบอร์ฯ
Privacy
อ่าน

ความเป็นส่วนตัว: ใครกันเป็นเจ้าของ?

ปัจจุบัน สังคมถกเถียงในประเด็นความเป็นส่วนตัวกันมาก แต่กฎหมายยังไม่มีนิยามแน่นอนว่า สิทธิในความเป็นส่วนตัว หมายความว่าอย่างไร ใครเป็นเจ้าของ กฎหมายเข้ามาดูแลมากน้อยเพียงใด สังคมจะดูแลกันเองได้หรือไม่ และความเป็นส่วนตัวอยู่ตรงไหนในพื้นที่สาธารณะ
อ่าน

เฟซบุคเปิดให้ชาวโลก โหวตนโยบายข้อมูลส่วนบุคคล

1-8 มิถุนายนนี้ เฟซบุคเปิดให้ผู้ใช้ทั่วโลกโหวตนโยบายข้อมูลส่วนบุคคล สร้างการลงประชามติที่กินอาณาเขตกว้างขวางที่สุดในประวัติศาสตร์ แต่มันอาจไม่มีความหมายเพราะหากมีผู้โหวตจำนวนไม่ถึงร้อยละ 30 ของสมาชิกเฟสบุ๊ค การโหวตนี้จะไม่มีผลผูกพันใดๆ ยังมีเสียงวิจารณ์ด้วยว่า นโยบายที่ให้เลือกโหวตระหว่างฉบับปัจจุบันและฉบับใหม่ ก็แทบหาความแตกต่างไม่ได้