DSC02097
อ่าน

RECAP เสวนา Never Say Never: ถกปัญหา-หาทางออก 2 ปี การกลับมาของมาตรา 112”

วันที่ 20 พฤศจิกายน 2565 เนื่องในโอกาสครบรอบ 2 ปี การนำ #มาตรา112 กลับมาบังคับใช้ในระลอกปี 2563 ไอลอว์ร่วมกับสโมสรนิสิตคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดงานเสวนา “Never Say Never: ถกปัญหา-หาทางออก 2 ปี การกลับมาของมาตรา 112” โดยเป็นการพูดคุยกับตัวแทนพรรคการเมืองสามพรรค ได้แก่   o พล.ต.อ.เสรีพิสุทธิ์ เตมียเวช หัวหน้าพรรคเสรีรวมไทย o รังสิมันต์ โรม โฆษกพรรคก้าวไกล o ขัตติยา สวัสดิผล ตัวแทนพรรคเพื่อไทย ดำเนินรายการโดย ฐาปนีย์ เอียดศรีชัย
50273740932_a7f3bd69db_o
อ่าน

พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ให้อำนาจรัฐปิดเว็บที่ขัดต่อความสงบเรียบร้อย แม้ไม่ผิดกฎหมาย

พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ปี 2560 มาตรา 20 เป็นเครื่องมือชิ้นสำคัญสำหรับรัฐในการปิดกั้นเนื้อหาบนโลกออนไลน์ โดยมาตราดังกล่าวกำหนดให้พนักงานเจ้าหน้าที่ยื่นคําร้องพร้อมแสดงพยานหลักฐานต่อศาลที่มีเขตอํานาจขอให้มีคําสั่งระงับการทําให้แพร่หลายหรือลบข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นออกจากระบบคอมพิวเตอร์ได้อย่างกว้างขวาง
FINAL_01
อ่าน

เปิดข้อเสนอแก้ไข พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ไม่ให้ใช้ฟ้องปิดปาก

ประเทศไทย มีกฎหมายหลายฉบับที่กำกับและควบคุมเสรีภาพในการแสดงออก ที่โดดเด่นที่สุด คือ พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ) ซึ่งเป็นกฎหมายที่มีเจตนารมณ์เพื่อป้องกันการกระทำความผิดต่อข้อมูลหรือระบบคอมพิวเตอร์ เช่น การโจมตีระบบ หรือ การปลอมแปลงข้อมูลคอมพิวเตอร์ แต่ก็ถูกนำมาใช้จำกัดเสรีภาพการแสดงความคิดเห็นบนโลกออนไลน์อย่างผิดฝาผิดตัวและเป็นผลให้เกิดการละเมิดสิทธิเสรีภาพของประชาชนอย่างกว้างขวาง ด้วยเหตุนี้ จึงมีข้อเสนอจากภาคประชาชนที่ต้องการป้องกันไม่ให้ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ถูกนำมาใช้เพื่อ "ฟ้องปิดปาก" 
26-2557
อ่าน

มรดก คสช. ที่ยังเหลืออยู่ สั่งปิดเว็บไซต์-เข้าถึงข้อมูลไม่ต้องขอหมายศาล

ประกาศ คสช. 26/2557 ยังไม่ถูกยกเลิก คสช.จงใจคงอำนาจนี้ไว้ให้มีคณะทำงานตรวจสอบข้อมูลการใช้อินเทอร์เน็ต และสั่งปิดกั้นเว็บไซต์ได้ โดยไม่ต้องมีกระบวนการตรวจสอบโดยอำนาจศาล
NLA seminar
อ่าน

เวที สนช.ยัน ห้ามใช้ พ.ร.บ.คอมฯ ฟ้องหมิ่นประมาท แต่ยืนกราน “ข้อมูลเท็จ” ยังเป็นความผิด

เวทีรับฟังความคิดเห็นร่างพ.ร.บ.คอมฯ ที่รัฐสภาคึกคัก ผู้เข้าร่วมส่งข้อกังวล ม. 14 ใช้ปิดปาก ห้ามวิจารณ์-ห้ามตรวจสอบ ด้าน กมธ.ร่างฯ ย้ำ พ.ร.บ.คอมฯ ไม่ใช่กฎหมายหมิ่นประมาทออนไลน์ แต่ยังมีเงื่อนไข ห้ามเสนอ "ข้อมูลเท็จ"  
Event talk
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ.คอมฯ ระบุชัด ให้กรรมการ 5 คน สั่งปิดเว็บขัดศีลธรรมอันดี, การไม่ลบข้อมูลเป็นความผิดเพราะคนมี “สิทธิที่จะถูกลืม”

หลักสิทธิที่จะถูกลืม หรือ right to be forgotten ถูกอ้างขึ้นในการร่าง พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ฉบับใหม่ เพื่อเป็นเหตุในการกำหนดความผิดฐานใหม่ ให้ทำลายข้อมูลที่ศาลสั่งว่าผิด ทั้งที่ในทางสากล สิทธิที่จะถูกลืมใช้เพื่อคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พร้อมประเด็นสำคัญการบล็อกเว็บที่ขัดกับศีลธรรมอันดี ทำโดยคณะกรรมการ 5 คนตัดสินใจ
Computer Head
อ่าน

สรุปร่าง พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ฉบับ พ.ย.59: พื้นที่ออนไลน์จะมีแต่ดราม่าหมาแมว

ร่างแก้ไข พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ฉบับที่เห็นในเดือนพฤศจิกายน 2559 ยังมีข้อห่วงกังวลอีกมาก หลักการ "แจ้งเตือนและเอาออก" อาจไม่แก้ปัญหา และอาจสร้างระบบเซ็นเซอร์ตัวเองขนาดใหญ่ เพิ่มความผิดฐานไม่ลบไฟล์ผิดกฎหมาย และฐานโพสต์ข้อมูลเท็จเกี่ยวกับบริการสาธารณะ
อ่าน

พลเมืองเน็ตเสนอแก้นิยาม “ข้อมูลคอมพิวเตอร์” อย่ารวมเรื่องหมิ่นประมาท

อาทิตย์ สุริยะวงศ์กุล เสนอเปลี่ยนนิยาม “ข้อมูลคอมพิวเตอร์” ให้เป็นไปเพื่อป้องกันความเสียหายของคอมพิวเตอร์เท่านั้น ไม่รวมหมิ่นประมาท ซึ่งมีกฎหมายคุ้มครองอยู่แล้ว