enforced disappearance
อ่าน

4 ปี แล้วยังไม่พบศพสุรชัย แซ่ด่าน

ป้าน้อย ภรรยาของสุรชัย แซ่ด่าน นักเคลื่อนไหวที่ลี้ภัยทางการเมืองไปยังประเทศเพื่อนบ้านในปี 57 หลังจากนั้นมีข่าวการหายตัวไปของทั้งสุรชัย ภูชนะ และกาสะลอง ก่อนจะพบศพสหายทั้งสองคนถูกมัดใส่กระสอบลอยมาที่ริมน้ำโขง ส่วนร่างของสุรชัยนั้นผ่านมากว่า 4 ปี แล้ว ก็ยังหาร่างไม่พบ
Thailand land of surveillance
อ่าน

สรุปเสวนา “Thailand: ดินแดนแห่งความหลากหลายด้านปฏิบัติการสอดส่องโดยรัฐ”

มูลนิธิผสานวัฒนธรรม (CrCF) ร่วมกับสมาคมผู้สื่อข่าวต่างประเทศแห่งประเทศไทย (FCCT) จัดงานเสวนาเนื่องในวาระครบรอบสองปี 4 มิถุนายน 2563 การถูกบังคับสูญหายของวันเฉลิม สัตย์ศักดิ์สิทธิ์ เพื่อแลกเปลี่ยนรูปแบบและแนวปฏิบัติของเจ้าหน้าที่รัฐในการติดตามคุกคามนักเคลื่อนไหวทางการเมือง ไปจนถึงวิเคราะห์สถานการณ์เพื่อร่วมกันหาแนวทางป้องกันและข้อเสนอแนะต่อไปในอนาคต
seminar Women : Unfinished Justice
อ่าน

RECAP : เสวนาผู้หญิงกับความยุติธรรม การต่อสู้ที่ไม่สิ้นสุด

27 มีนาคม 2565 เวลา 17.00 น. เครือข่ายภาคประชาสังคมนำโดย Protection international และกลุ่มดินสอสี จัดกิจกรรม Women : Unfinished Justice ผู้หญิงกับความยุติธรรมที่ไม่สิ้นสุด 
Torture and enforced disappearance prevention act
อ่าน

จับตาสภาโหวตร่างพ.ร.บ.ป้องกันการทรมานและการอุ้มหายฯ วาระสอง หยุดวงจรลอยนวลพ้นผิด

เส้นทางของพ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย ได้เดินทางมาถึงวาระสอง โดยในชั้นกรรมาธิการได้มีการนำเนื้อหาของร่างของพรรคการเมืองและภาคประชาชนเข้ามารวมกับร่างที่ครม. เสนอในวาระหนึ่งด้วย ทำให้ร่างก้าวหน้าขึ้น การพิจารณาในวาระสอง จึงเป็นอีกหนึ่งวาระที่น่าจับตาว่าผลจะออกมาเป็นอย่างไร
TN Agentina
อ่าน

#saveวันเฉลิม: บทเรียนละตินอเมริกา 5 ปัจจัยการเมือง ‘เช็คบิลย้อนหลัง’การละเมิดสิทธิยุคเผด็จการทหาร

วันเฉลิม สัตย์ศักดิ์สิทธิ์ ไม่ใช่ผู้ลี้ภัยสัญชาติไทยรายแรกที่ถูกอุ้มหายในประเทศเพื่อนบ้าน ตั้งแต่ปี 2559 มีผู้ลี้ภัยถูกอุ้มหายไปแล้ว 9 ราย แต่ก่อนที่จะสิ้นหวังในการตามหาความยุติธรรม เราอยากชวนผู้อ่านมองออกไปยังบริบทโลกเพื่อค้นหาบทเรียนและปัจจัยของความสำเร็จที่เคยเกิดขึ้นแล้ว     
Somchai to Wanchalerm
อ่าน

จากคดี “ทนายสมชาย” ถึงอุ้มหายวันเฉลิม จะเอาผิดคนร้ายในไทยได้ต้องแก้กฎหมายก่อน

ตัวอย่างจากคดีการหายตัวของทนายสมชาย ที่เอาผิดกับคนทำไม่ได้ ช่วยให้เราเรียนรู้ช่องโหว่ของกฎหมายสำหรับการอุ้มหายที่เกิดขึ้น 16 ปีให้หลัง กรณีของวันเฉลิมเหตุเกิดที่ต่างประเทศ แม้กฎหมายไทยเปิดช่องให้เอาผิดในไทยได้ แต่ปัญหาอยู่ที่ "ผู้เสียหาย" ที่จะเป็นคนริเริ่มคดี
Know that Billy isn't missing but the law has a loophole
อ่าน

รู้แล้วว่า ‘บิลลี่’ ไม่ได้หาย แต่ ‘กฎหมาย’ ยังมีช่องโหว่ พ.ร.บ.ยังไม่โผล่สักที

ดีเอสไอ แถลงต่อสาธารณะว่า บิลลี่ได้เสียชีวิตแล้ว ซึ่งเป็นเพียงหนึ่งใน 86 ราย ที่ถูกบังคับให้สูญหายในรอบ 28 ปี และแม้ว่าไทยจะเป็นภาคีในอนุสัญญาเรื่องคนหาย แต่ยังไม่มีการออกกฎหมายมาคุ้มครองและปกป้องสิทธิของประชาชน มีแต่เพียงร่างพ.ร.บ.ที่เสนอและตกไปเท่านั้น
Book Launch "Jai Pan Din" a book about Karen Indigenous in Kangkrachan Forest
อ่าน

เปิดตัวหนังสือ “ใจแผ่นดิน” บันทึกการต่อสู้ว่าคนอยู่กับป่าได้ ของชาวกระเหรี่ยงแก่งกระจาน

3 กรกฎาคม 2562 มูลนิธิผสานวัฒนธรรม ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร และสถาบันวิจัยสังคม จุฬาฯ ร่วมกันเปิดตัวหนังสือ “ใจแผ่นดิน แผ่นดินกลางใจกะเหรี่ยงแก่งกระจาน” และพูดคุยถึงการต่อสู้ของชาวกระเหรี่ยงเพื่อทวงคืนบ้านเกิด 'หมู่บ้านใจแผ่นดิน' ที่ถูกขับไล่ออกมาหลังประกาศให้เป็นเขตอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
14 ปี ทนายสมชายหาย: กฎหมายต่อต้านการอุ้มหายยังไม่คืบหน้า ใช้มติคณะรัฐมนตรีตั้งกร
อ่าน

14 ปี ทนายสมชายหาย: กฎหมายต่อต้านการอุ้มหายยังไม่คืบหน้า ใช้มติคณะรัฐมนตรีตั้งกรรมการทำงานไปก่อน

วันที่ 12 มีนาคม 2561 มีการจัดงานครบรอบ 14 ปี การหายตัวไปของทนายสมชาย นีละไพจิตร ที่คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ ในงานมีการวางดอกไม้รำลึกถึงทนายสมชาย โดยครอบครัว และมีเวทีเสวนาเรื่อง “พัฒนาการล่าสุดของ ร่าง พ.ร.บ.ป้องกันการทรมานและบังคับสูญหาย”
ก่อนท้องฟ้าจะสดใส: บรรยากาศเสี่ยง 'อันตราย' ที่อาจเกิดขึ้นกับใครก็ได้ !
อ่าน

ก่อนท้องฟ้าจะสดใส: บรรยากาศเสี่ยงอันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับใครก็ได้ !

วันนี้ (27 เมษายน 2559) มีรายงานผ่านโลกออนไลน์เป็นระยะว่า ประชาชนคนธรรมดาถูกจับกุมและพาตัวไปจากบ้านตั้งแต่เวลารุ่งเช้า ท่ามกลางความสับสนของการใช้อำนาจจับกุมตัวบุคคลดังกล่าว ไอลอว์มีข้อสังเกตต่อเหตุการณ์ครั้งiนี้ว่า มันมีปัญหาในแง่ อำนาจที่ใช้กับฐานความผิดไม่สอดคล้องกัน