senate pass 11 bills and vote yes on 6 Emergency Decrees
อ่าน

7 ปี แห่งความถดถอย : วุฒิสภาของ คสช. ผ่านกฎหมายได้ 11 ฉบับ ปั๊มตรายางให้ พ.ร.ก. 6 ฉบับ

ส.ว. "ชุดพิเศษ" 250 คน ที่มาจาก คสช. กลายเป็นองค์กรที่มีพื่อสืบทอดอำนาจของคสช. และขวาง #แก้รัฐธรรมนูญ  แต่อำนาจหน้าที่ในกระบวนการออกกฎหมายก็ยังอยู่ในมือของพวกเขาด้วย ผลงานตลอด 2 ปีในตำแหน่ง พวกเขาลงมติผ่านร่างพระราชบัญญํติได้ 11 ฉบับ และอนุมัติพระราชกำหนดให้คณะรัฐมนตรีได้ 6 ฉบับ โดยเสียง เห็นชอบแทบจะไม่มีแตกแถว
Law is waiting to reform
อ่าน

TDRI กับข้อเสนอปฏิรูประบบกฎหมาย ‘ล้าหลัง-ล้นเกิน’ สร้างภาระ 2 แสนล้าน

TDRI เทียบระบบราชการไทยกับการใช้งานคอมพิวเตอร์ โดยกล่าวถึงสิ่งที่น่าเป็นห่วงคือ รัฐไทยมีขีดความสามารถในการรับมือกับภาวะวิกฤติต่างๆ ลดลง เพราะความไม่มีประสิทธิภาพของระบบราชการ ที่เปรียบเสมือน “ระบบปฏิบัติการ” ของประเทศ เป็นระบบที่ตอบสนองช้า มีชุดคำสั่งหรือกฎหมายล้าสมัย หรือมีข้อผิดพลาด (bug) มากทำให้ให้เกิดต้นทุนสูงต่อสังคม 
พระราชกำหนด 101: ทำความรู้จักกฎหมายในมือรัฐบาล
อ่าน

พระราชกำหนด 101: ทำความรู้จักกฎหมายในมือรัฐบาล

17 ตุลาคม 2562 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรนัดพิจารณาอนุมัติพระราชกำหนดโอนอัตรากำลังพลฯ ทำไมสภาผู้แทนราษฎรถึงต้องพิจารณาพระราชกำหนด แล้วพระราชกำหนดนั้นแตกต่างจากพระราชบัญญัติอย่างไร จะขอสรุปไว้ในบทความนี้
-26662_๑๙๐๖๒๖_0012
อ่าน

ขั้นตอนออกกฎหมายตามรัฐธรรมนูญ 2560

หลังเลือกตั้ง สภาผู้แทนราษฎร ซึ่งมีอำนาจหลักพิจารณากฎหมายกลับทำงานอีกครั้ง  ถึงแม้ 5 ปีแรก ส.ว. มีอำนาจเท่า ส.ส. ในการออกกฎหมายการปฏิรูปประเทศก็ตาม แต่การออกกฎหมายทั่วไปมีขั้นตอน ได้แก่ 1) การเสนอร่างกฎหมาย 2) การพิจารณาของสภา ส.ส. และ ส.ว. 3) การประกาศใช้ โดยกฎหมายที่ออกมาส่วนใหญ่เรียกว่า พระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.)