IMG_5114
อ่าน

The royalists strike back: การโต้กลับของกลุ่ม “ปกป้อง” ท่ามกลางข้อเรียกร้อง “ปฏิรูปสถาบัน”

ปี 2563 จนถึงอย่างน้อยกรกฎาคม 2564 เป็นช่วงเวลาที่การชุมนุมและการเคลื่อนไหวทางการเมืองอยู่ในกระแสสูง ข้อเรียกร้อง “ปฏิรูปสถาบันพระมหากษัตริย์” ถูกยกมาพูดในพื้นที่การชุมนุมอย่างเปิดเผย มีการชุมนุมที่ตั้งชื่อและเป้าหมายการชุมนุมสื่อถึงพระมหากษัตริย์อย่างตรงไปตรงมา เช่น การชุมนุมที่หน้าสถานทูตเยอรมนีประจำประเทศไทยที่เรียกร้องให้รัฐบาลเยอรมันตรวจสอบว่า พระมหากษัตริย์ไทยทรงใช้พระราชอำนาจระหว่างประทับในดินแดนเยอรมันหรือไม่ การชุมนุมราษฎรสาส์น ส่งจดหมายถึงพระมหากษัตริย์ และการชุมนุมที่หน้าสำนักงานใหญ่ธนาคารไทยพาณิชย์ซึ่งย้ายมาจากจุดหมายเดิม คือ สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ &nbsp
Thammasart
อ่าน

ผ่านแล้ว! เกษตร-มธ.-มข.-สวนดุสิต ออกนอกระบบ: ทบทวนประวัติศาสตร์ และความเปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดขึ้น

พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ – เกษตรศาสตร์ – ขอนแก่น – สวนดุสิต ฉบับใหม่กำหนดให้เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ประกาศใช้แล้ว ย้อนดูประวัติศาสตร์ และบทเรียนเมื่อมหาวิทยาลัยต่างๆ ออกนอกระบบ ค่าเรียนจะแพงขึ้นและรัฐจะประหยัดงบจริงหรือไม่
อ่าน

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ “ปฏิรูปประวัติศาสตร์ ไม่พอเห็นจะต้องปฏิวัติ”

วาระปฏิรูปวิชาประวัติศาสตร์ถูกยกให้เป็นวาระเร่งด่วนในการปฏิรูปการศึกษายุค คสช. นักวิชาการประวัติศาสตร์อย่าง ชาญวิทย์ เกษตรศิริ จะมาเล่าให้ฟังถึงปัญหาแบบเรียน อุปสรรคและความล้มเหลวของวิชาประวัติศาสตร์พร้อมเสนอแนะแบบเรียนประวัติศาสตร์ไทยที่ควรจะเป็น 
อ่าน

คุยกับชัชวาลย์ ทองดีเลิศ “เด็กบนดอยไม่จำเป็นต้องเรียนเหมือนกับเด็กกรุงเทพฯ”

iLaw สนทนากับ ชัชวาลย์ ทองดีเลิศ ครูการศึกษาทางเลือกที่โฮงเฮียนสืบสานภูมิปัญญาล้านนา เพื่อให้ความเห็นมุมมองของการศึกษาทางเลือกในวิกฤติการศึกษาปัจจุบัน ที่มองการศึกษาแค่การเดินเข้าเดินออกจากโรงเรียนเท่านั้น
lomyong
อ่าน

อยากทำการศึกษาในระบบให้เป็นทางเลือกหนึ่ง

ประเด็นความตกต่ำของการศึกษาไทยเป็นที่ถกเถียงซ้ำแล้วซ้ำเล่า iLaw สนทนากับ ลำยอง เตียสกุล และ จิรพันธ์ สำเริงเรือง สองสาวใจดีจากเครือข่ายการศึกษาเพื่อเด็ก  งานนี้ทั้งสองจะสะท้อนมุมมองของภาคประชาชนต่อปัญหาการศึกษาและทางเลือกทางการศึกษาของประเทศไทย