52866802355_3acfb3b749_o
อ่าน

เลือกตั้ง66: ส่องเขตสูสีเลือกตั้ง 62 ใช้เพียงไม่กี่คะแนนเปลี่ยนสมการจัดตั้งรัฐบาลได้

การเลือกตั้งแบบแบ่งเขตในประเทศไทย ใครได้คะแนนมากที่สุดในเขตก็เข้าป้ายได้เก้าอี้ ส.ส. ไปครอง ดังนั้น คะแนนก็อาจจะกระจายไปอยู่กับผู้สมัครหลายคน ทำให้ผลสุดท้ายผู้ชนะอาจจะ “เฉือน” อันดับสองไปไม่มาก
Pass One drafts
อ่าน

ผ่านแค่ร่างเดียว! #แก้รัฐธรรมนูญ ภาคสอง รับระบบ 2540 ซึ่งพรรคประชาธิปัตย์เสนอ

ผ่านแค่ร่างเดียว! ที่ประชุมสภาลงมติ #แก้รัฐธรรมนูญ วาระที่ 1 รับแค่ร่างเดียว คือ การเสนอแก้ไขระบบเลือกตั้งไปใช้คล้ายระบบ 2540 ซึ่งเสนอโดยพรรคประชาธิปัตย์ ส่วนร่างที่เสนอให้ยกเลิกอำนาจ ส.ว. เลือกนายกฯ ไม่ผ่านเพราะเสียงของ ส.ว. ไม่เพียงพอ
0000
อ่าน

เลือกตั้ง 62: การใช้อำนาจพิเศษของคสช.ในช่วงเลือกตั้ง

    จากกรณีที่ผู้สมัครส.ส.จากพรรคเพื่อไทยและพรรคประชาธิปัตย์ออกมาเปิดเผยเรื่องทหารคุกคามค้นบ้าน ทำให้พ.อ.วินธัย สุวารี โฆษกคสช.
obsinelec19
อ่าน

เลือกตั้ง 62: รวมอุปสรรคในการหาเสียงและข้อสงสัยการโกงเลือกตั้ง 2562

  หลังคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ทำการรัฐประหาร พรรคการเมืองก็ถูก คสช. ใส่ “กุญแจมือล็อคไว้” ให้ยุติบทบาททางการเมืองเป็นการชั่วคราวด้วยประกาศ คสช. ฉบับที่ 57/2557 ในวันที่ 12 มิถุนายน 2557 ซึ่งระบุห้ามพรรคการเมืองประชุมหรือดำเนินกิจกรรมทางการเมือง และเมื่อคำสั่งหัวหน้า คสช.ที่ 3/2558 ซึ่งออกในวันที่ 1 เมษายน 2558 สั่งห้ามชุมนุมทางการเมืองตั้งแต่ 5 คนขึ้นไป กลายกุญแจที่ล็อคพรรคการเมืองก็ยิ่งแน่นหนาขึ้นไปอีก 
4 The Lucky 7 กับเจ็ดสนช
อ่าน

ใครออกกฎหมาย? 4: “The Lucky 7” กับเจ็ดสนช. ที่ขาดประชุมบ่อยจนอาจสิ้นสภาพ

ไอลอว์ ค้นหาข้อมูลการแสดงตนเพื่อลงลงมติของสมาชิก สนช. จำนวน 8 คน โดยเลือกรอบระยะเวลา 2 รอบ (180 วัน) ของปี 2559 ว่าลงมติเกินกว่าหนึ่งในสามของแต่ละรอบระยะเวลาหรือไม่ พบว่า มีถึง 7 คน ที่ลงมติไม่เกินกว่าหนึ่งในสามของการลงมติในแต่ละรอบ
อ่าน

ใครออกกฎหมาย? 3: ค้านไม่ต้อง-เห็นชอบครับ! สนช. 90% ไม่แตกแถว

ตลอดสองปีกว่า สนช.ผ่านร่างพ.ร.บ.อย่างน้อย 214 ฉบับ ผลการลงมติร่างกฎหมายฉบับต่างๆ จะผ่านความเห็นชอบด้วยคะแนนเสียงข้างมากเกิน 90% ทุกฉบับ ใน ร่างพ.ร.บ.ที่สังคมมีการถกเถียงกันอย่างแพร่หลาย ก็พบว่าไม่มีร่างพ.ร.บ.ฉบับไหน ที่เสียงข้างมากจะมีมติไม่เห็นชอบเลย
อ่าน

#ส่องประชามติ: เมื่อการอำนวยความสะดวกของรัฐไปไม่ถึงคนทุกกลุ่ม

ปฏิเสธไม่ได้ว่า ในการออกเสียงประชามติวันที่ 7 สิงหาคม 2559 ที่มีผู้มาใช้สิทธิจำนวน 27,623,126 คน จากจำนวนทั้งหมด 50,585,118 คนนั่น มีคนจำนวนหนึ่งที่เข้าไม่ถึงการอำนวยความสะดวกของรัฐ ไม่ว่าจะเป็นการขอใช้สิทธิลงประชามตินอกเขต หรือการเข้าถึงเอกสารเนื้อหาเกี่ยวกับร่างรัฐธรรมนูญ โดยเฉพาะกลุ่มคนพิการ ผู้สูงอายุ กลุ่มชาติพันธุ์ลัวะ ปกาเกอะญอ และกลุ่มคนมลายู จังหวัดยะลา เป็นต้น