constitution B.E. 2560 article 147
อ่าน

ได้ครม. ชุดใหม่ช้า กฎหมายค้างท่อสภาชุดก่อนหมดโอกาสพิจารณาต่อจากเดิม

ตามรัฐธรรมนูญ เมื่อยุบสภาหรือสภาหมดอายุ ร่างกฎหมายที่รัฐสภายังไม่ได้เห็นชอบ จะ "ตกไป" แต่ก็ยังมีช่องให้ร่างกฎหมายเหล่านั้นได้พิจารณาต่อได้ ถ้าครม. ชุดใหม่หลังเลือกตั้ง ขอมติจากรัฐสภาให้พิจารณาร่างกฎหมายนั้นต่อไป เงื่อนไขสำคัญ คือ ครม. ต้องขอภายใน 60 วันหลังประชุมรัฐสภาวันแรก
อ่าน

รัฐสภามีมติ เสนอชื่อแคนดิเดตนายกฯ ที่โหวตไม่ผ่านซ้ำอีกรอบไม่ได้

19 กรกฎาคม 2566 ที่ประชุมรัฐสภา 395 เสียง มีมติว่า การเสนอชื่อนายกรัฐมนตรีคนเดิมที่เคยลงมติไปแล้วเป็นการเสนอญัตติซ้ำ ต้องห้ามตามข้อบังคับข้อ 41 ส่งผลให้ในสมัยประชุมนี้เสนอชื่อพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ ให้เป็นนายกฯ ไม่ได้อีก
#FreeAlcohol bill vote
อ่าน

เช็คเรียงคน! โหวต #สุราก้าวหน้า วาระสาม พปชร.-ภท. เสียงแทบไม่แตก เทโหวตคว่ำ

เมื่อ 2 พฤศจิกายน 2565 สภาผู้แทนราษฎรโหวตคว่ำร่างกฎหมาย #สุราก้าวหน้า ในวาระสาม ด้วยคะแนนเสียง 196:194 เสียง ตัดกันเพียง 2 เสียง โดยเสียงไม่เห็นด้วยส่วนใหญ่ มาจากพรรคร่วมรัฐบาล โดยเฉพาะในพรรคพลังประชารัฐ และพรรคภูมิใจไทย ที่เสียงแทบไม่แตก เทโหวตคว่ำ
referendum
อ่าน

ญัตติเสนอทำประชามติร่างรัฐธรรมนูญใหม่ผ่านด่าน ส.ส. แล้ว! แต่ยังต้องรอลุ้น ส.ว. ต่อ

3 พ.ย. 2565 สภาผู้แทนราษฎรมีมติเห็นด้วยกับญัตติให้ทำประชามติ เพื่อจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ ด้วยคะแนนเสียงเห็นด้วย 323+1 = 324 เสียง ไม่เห็นด้วย 0 เสียง ต้องส่งต่อให้วุฒิสภาให้ความเห็นชอบอีกเช่นกัน 
parliament meeting
อ่าน

จับตา #ประชุมสภา สมัยประชุมสุดท้ายก่อนเลือกตั้งสภาชุดใหม่ในปี 66

ช่วง “โค้งสุดท้าย” ของสภา จึงมีความสำคัญอย่างมากต่อกระบวนการจัดทำและแก้ไขกฎหมายต่างๆ หากพิจารณาร่างกฎหมายไม่ทัน ร่างกฎหมายก็จะตกไปและต้องริเริ่มกันใหม่ในสมัยประชุมหน้า
parliament meeting 1-4 aug 2022
อ่าน

จับตา! ประชุมสภา โหวตกฎหมายลูกเลือกตั้ง-เคาะกรรมการป.ป.ช.

1-4 ส.ค. 2565 มีการประชุมสภาหลายนัด ทั้งวุฒิสภา นัดลงมติให้ความเห็นชอบผู้ได้รับการเสนอชื่อดำรงตำแหน่งป.ป.ช. สภาผู้แทนราษฎร พิจารณาร่างกฎหมาย เช่น ร่างพ.ร.บ.ฉุกเฉินฯ ที่เสนอมาเพื่อใช้แทนพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ และรัฐสภา (ส.ส. + ส.ว.) พิจารณาร่างพ.ร.ป.การเลือกตั้งส.ส. 
quorum-busting in numbers
อ่าน

เปิดสถิติ “สภาอับปาง” ล่ม 15 ครั้งภายใน 3 ปี ยิ่งรัฐบาลขัดแย้ง ยิ่งล่มบ่อย

สภาที่มาจากการเลือกตั้งชุดแรกภายใต้รัฐธรรมนูญ 2560 ประสบปัญหา "สภาล่ม" อยู่บ่อยครั้ง นับตั้งแต่การเลือกตั้งในเดือนมีนาคม 2562 จนถึงวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2565 การประชุมสภาผู้แทนราษฎรและการประชุมรัฐสภา "ล่ม" ไปแล้วรวมกันถึง 15 ครั้ง ย้อนดูสถิติสภาล่มที่แสดงให้เห็นถึงความเปลี่ยนแปลงทางการเมือง โดยเฉพาะในขั้วรัฐบาล
What is quorum-busting?
อ่าน

สภาล่มคืออะไร? ตอบคำถามคาใจสภาอับปาง

นับตั้งแต่สภาชุดปัจจุบันที่มาจากการเลือกตั้งเข้าทำหน้าที่ในช่วงต้นปี 2562 เกิดเหตุการณ์ “สภาล่ม” ไปแล้วถึง 15 ครั้ง และยิ่งในช่วงที่รัฐบาลภายใต้การนำของพรรคพลังประชารัฐกำลังสั่นคลอนจากปัญหาความขัดแย้งภายในพรรค เหตุการณ์สภาล่มก็ยิ่งเกิดถี่ขึ้นเรื่อย ๆ ชวนทำความรู้จักว่าสภาล่มคืออะไร การไม่แสดงตนคืออะไร ฝ่ายค้านใช้สภาล่มได้อย่างไร และผลของสภาล่มคืออะไร
Parliament failed to reach a quorum
อ่าน

สภาล่มครั้งที่ 15! ส.ส.รัฐบาล รักษาองค์ประชุมไม่ได้

หลังจากตั้งแต่ที่เปิดปี 2565 มาจนถึงการประชุมวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2565 การประชุมของสภาผู้แทนราษฎรล่มไปแล้ว 3 ครั้ง และหากนับตั้งแต่สภาผู้แทนราษฎรชุดนี้เริ่มทำงานหลังการเลือกตั้งทั่วไปปี 2562 มีถึง 15 ครั้งที่องค์ประชุมสภาไม่ครบ
list of MPs accepting the coup's principle
อ่าน

เปิดผลลงมติ “ให้จำชื่อ” ส.ส.คนไหนไม่รับหลักการ “ปลดอาวุธคสช.”

เปิดผลลงมติ ไม่รับหลักการ #ปลดอาวุธคสช. พบฝ่ายรัฐบาลเท “ไม่เห็นด้วย” ส.ส.ประชาธิปัตย์ 4 คนสวนมติ สาทิตย์ วงศ์หนองเคย และแนน บุณย์ธิดา สมชัย ลงมติ “เห็นด้วย” ฝ่ายค้านที่ไปสนับสนุนรัฐบาลล้วน “หน้าเดิม” แต่ขาดลงมติเยอะเป็นผลให้เสียงเห็นด้วยมีแค่ 162