52740187016_20befa53f8_o
อ่าน

เลือกตั้ง 66: งานเสวนาบทเรียนจากท้องถนน “จุดยืนพรรคการเมืองต่อเสรีภาพการชุมนุมและนิรโทษกรรม”

เสวนาในหัวข้อบทเรียนจากท้องถนน: พรรคการเมืองกับนโยบายเสรีภาพการชุมนุม มีการเชิญชวนพรรคการเมืองมาร่วมพูดคุยถึงประเด็นด้านเสรีภาพในการชุมนุมของประชาชน และนโยบายเกี่ยวกับการชุมนุมที่แต่ละพรรคตั้งใจนำเสนอ
Art in Protest
อ่าน

จากฟอนต์ตัวอักษรถึงเป็ดยาง ฟังเรื่องเล่าจากวงการศิลปะในขบวนการประชาธิปไตย

กิจกรรมเสวนาในหัวข้อ "อยากจะม็อบ ขาดพร็อพได้ไง" ภายในงานนิทรรศการของพิพิธภัณฑ์สามัญชน (Museum of Popular History) โดยผู้ร่วมสนทนาประกอบไปด้วย Phar iLaw แอดมินเพจ PrachathipaType และเอเลียร์ ฟอฟิ จากกลุ่มศิลปะปลดแอก ดำเนินรายการโดย อานนท์ ชวาลาวัณย์ ผู้ก่อตั้งพิพิธภัณฑ์สามัญชน
iLaw Online Store
อ่าน

เปิดร้านแล้ว! ชวนช้อปสินค้ารณรงค์จาก “iLaw Online Store”

เปิดร้านค้าออนไลน์ของ iLaw อย่างเป็นทางการ ไม่ว่าจะเป็น "พวงกุญแจ สติกเกอร์ เสื้อยืด หนังสือ" นอกจากจะติดสวย ใส่เก๋แล้ว ยังแสดงออกว่าเราต้องการเสรีภาพทุกตารางนิ้ว! ที่สำคัญ "ส่งฟรี" ทุกรายการ
NGO testing the constitutionality of the emergency decree
อ่าน

ครช. ฟ้องศาลรัฐธรรมนูญ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ขัดต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่

คณะรณรงค์เพื่อรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน (ครช.) เข้ายื่นคำร้องกับศาลรัฐธรรมนูญ ขอให้วินิจฉัยว่าพระราชกำหนดการบริหารราชการแผ่นดินในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 (พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ) ชอบด้วยรัฐธรรมนูญหรือไม่
putting children into a custody requires human dignity
อ่าน

จับกุมเด็กและเยาวชนต้องคำนึงถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ห้ามใช้เครื่องพันธนาการ

การปรากฏตัวขึ้นของกลุ่มผู้ชุมนุม “ทะลุแก๊ซ” เมื่อช่วงเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา ได้นำไปสู่การปะทะอย่างต่อเนื่องระหว่างกลุ่มผู้ชุมนุมและเจ้าหน้าที่ตำรวจ ณ บริเวณแยกดินแดง ความรุนแรงที่เกิดขึ้นส่งผลให้มีการจับกุมผู้ชุมนุมซึ่งรวมถึงเด็กและเยาวชนจำนวนมาก ทั้งนี้ กระบวนการและขั้นตอนในการจับกุมเด็กและเยาวชนนั้นมีความแตกต่างจากกระบวนการที่ใช้เมื่อจับกุมผู้ต้องหาที่เป็นผู้ใหญ่ โดยกฎหมายหลักที่ใช้ก็คือ พ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ
European Court of Human Rights set a precedent protecting peaceful assembly
อ่าน

ศาลสิทธิมนุษยชนยุโรปวางหลักคุ้มครองการชุมนุม ให้รัฐจ่ายค่าเสียหายเมื่อทำผิด

เสรีภาพในการชุมนุม (Freedom of Assembly) เป็นหลักสากลที่ได้รับการรับรองทั่วโลกในฐานะสิทธิมนุษยชนพื้นฐานของพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย ที่จะสามารถรวมตัวแสดงออกเรียกร้องความต้องการของตนเอง ในทวีปยุโรป เสรีภาพในการชุมนุมได้รับการรับรองไว้ในมาตรา 11 ของ ECHR โดยมีศาลสิทธิมนุษยชนยุโรปเป็นผู้วินิจฉัยให้รัฐจ่ายค่าเสียหายเมื่อกระทำผิด
discussion, dissolving the rally
อ่าน

สรุปเสวนา “ปราบม็อบ 101: วิชาสลายการชุมนุม (ด้วยความรุนแรง?)”

21 สิงหาคม 2564 Nitihub จัดงานเสวนาออนไลน์ในหัวข้อ "ปราบม็อบ 101: วิชาสลายการชุมนุม (ด้วยความรุนแรง?)" ถกเถียงเรื่องเส้นแบ่งระหว่างความรุนแรง-สันติวิธี, หลักการสลายการชุมนุม ไปจนถึงพลวัตของเส้นสันติวิธีและความรุนแรงที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน
photo_2020-12-17_18-00-37
อ่าน

คลื่นการชุมนุม 63 ในสายตาของสามผู้มีมลทินมัวหมอง

เพนกวิน-แรปเตอร์-เอเลียร์ สามผู้มีมลทินมัวหมองที่ถูกดำเนินคดีจากการชุมนุมในปี 2563 มาร่วมกันถอดบทเรียนถึงชนวนเหตุของการชุมนุมและทิศทางการชุมนุมในอนาคต
assembly act opinions
อ่าน

สำรวจความเห็นภาคประชาชนต่อ ร่าง พ.ร.บ.ชุมนุมฯ

ร่าง พ.ร.บ.การชุมนุมสาธารณะ อยู่ระหว่างการพิจารณาของ สนช. ร่างกฎหมายนี้อาจส่งผลกระทบต่อประชาชนหลายกลุ่มที่จำเป็นต้องใช้การชุมนุมเป็นช่องทางในการเรียกร้องความเป็นธรรม เราสำรวจความเห็นของภาคประชาสังคมที่ใช้ช่องทางนี้เป็นประจำว่าเขาคิดเห็นอย่างไรกับร่างกฎหมายฉบับนี้    
Police forces
อ่าน

ร่างพ.ร.บ.ชุมนุมสาธารณะฉบับสตช.57: ประชาชนไทยไม่รู้ไม่ได้

ปี 2557 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ขุดเอาร่างพ.ร.บ.การชุมนุมสาธารณะ มาเสนออีกครั้ง เตรียมเข้าสู่สนช. มาคราวนี้กำหนดหน้าที่ผู้จัดการชุมนุมต้องแจ้งล่วงหน้า กำหนดหน้าที่ตำรวจคอยอำนวยความสะดวก และกำหนดขั้นตอนกรณีต้องสลายการชุมนุมที่ไม่สงบและปราศจากอาวุธ