5156624013_b3c80ac310_b
อ่าน

ความเป็นส่วนตัวภายใต้รัฐธรรมนูญใหม่ “ต้องจับตา”

โลกปัจจุบันการเข้าถึงและการประมวลผลข้อมูลสามารถทำได้ง่ายและรวดเร็ว ด้วยความสามารถของคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต แต่ปัญหาที่ตามมากคือ "การละเมิดล่วงล้ำความเป็นส่วนตัว" ทั้งนี้ สิทธิดังกล่าวเป็นสิทธิพื้นฐานที่ได้รับการรับรองมาโดยตลอด จวบจนร่างรัฐธรรมนูญ 2559 แต่ทว่าแนวทางของรัฐบาลปัจจุบันทำให้เราต้องจับตากฎหมายลูกให้มากขึ้นด้วยวิธีเขียนที่ต่างออกไป
pic04
อ่าน

ยื่น 40,000 รายชื่อผู้ใช้เน็ตหยุด Single Gateway หยุดกฎหมายล้วงข้อมูลส่วนบุคคล

วันที่ 7 กรกฎาคม 2559 ตัวแทนเครือข่ายพลเมืองเน็ตยื่น 40,000 รายชื่อ (ตัวเลข ณ วันที่ 6 กรกฎาคม 2559) ที่ร่วมกันรณรงค์ออนไลน์ผ่าน change.org “หยุด Single Gateway หยุดกฎหมายล้วงข้อมูลส่วนบุคคล” ต่อ นายพีระศักดิ์ พอจิต รองประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) คนที่สอง เพื่อเรียกร้องให้ชะลอการพิจารณาร่างแก้ไข พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ที่มีปัญหาในแง่การจำกัดสิทธิเสรีภาพของประชาชน โดยเฉพาะเสรีภาพในการแสดงออกและการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร อีกทั้งจะรบกวนการทำงานของระบบอินเทอร์เน็ต ทำให้การใช้งานอินเทอร์เน็ตไม่ปลอดภัย
Dr.Kanatip
อ่าน

ฟังเรื่องกังวลใจของนักกฎหมาย ต่อร่างกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

ร่างกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ฉบับความมั่นคงดิจิทัล มีข้อถกเถียงหลายประการ การเก็บข้อมูลต้องขอความยินยอมก่อนหรือไม่? การทำงานของสื่อมวลชนควรได้รับการยกเว้นหรือไม่? จะสร้างสมดุลระหว่างการค้าขายกับการคุ้มครองอย่างไร? คุยกับรศ.ดร.คณาธิป ทองรวีวงศ์
อ่าน

หมายศาลก็ยังไม่พอ!: ต่อประเด็นถกเถียง “ชุดกฎหมายความมั่นคงดิจิทัล”

กระแสคัดค้าน "ชุดกฎหมายความมั่นคงดิจิทัล" ทำให้ผู้ร่างกฎหมายยืนยันว่าจะมีการแก้ไข และยังย้ำว่าร่างกฎหมายนี้จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องออกในช่วงเวลานี้ ต่อประเด็นข้างต้น iLaw จึงขอนำประเด็นถกเถียงที่เกิดขึ้นมาตอบ เพื่อสร้างข้อถกเถียงใหม่ที่จะเป็นประโยชน์ต่ออนาคตของ "ชุดกฎหมายความมั่งคงดิจิทัล" ต่อไป
Privacy Act
อ่าน

19 ประเด็นสำคัญที่เปลี่ยนแปลงในร่าง พ.ร.บ.คุ้มครอง Privacy (ฉบับความมั่นคงดิจิทัล)

ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ถูกเสนอสู่สนช.แล้วครั้งหนึ่ง แต่ถูกเสนอซ้ำอีกครั้งในชุด "กฎหมายความมั่นคงดิจิทัล" ซึ่งมีเนื้อหาเปลี่ยนไปมาก ใช้หลัก "แจ้งให้ทราบ" เมื่อเก็บข้อมูล โดยไม่ต้องขอความยินยอม ย้ายงานข้อมูลส่วนบุคคลมาอยู่ใต้สำนักงานความมั่นคงไซเบอร์ฯ
Privacy
อ่าน

ความเป็นส่วนตัว: ใครกันเป็นเจ้าของ?

ปัจจุบัน สังคมถกเถียงในประเด็นความเป็นส่วนตัวกันมาก แต่กฎหมายยังไม่มีนิยามแน่นอนว่า สิทธิในความเป็นส่วนตัว หมายความว่าอย่างไร ใครเป็นเจ้าของ กฎหมายเข้ามาดูแลมากน้อยเพียงใด สังคมจะดูแลกันเองได้หรือไม่ และความเป็นส่วนตัวอยู่ตรงไหนในพื้นที่สาธารณะ
data transaction
อ่าน

ไอซีทีกำหนด มาตรฐานการแปลงเอกสารเป็นดิจิตอลให้น่าเชื่อถือ

ไอซีทีออกประกาศสองฉบับ เรื่อง แปลงเอกสารกระดาษให้เป็นดิจิตอล และมาตรการให้รัฐคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล แบบทรัสต์มาร์ก (TrustMark)