ChangeNCPO_cover
อ่าน

Change.NCPO ชีวิตที่เปลี่ยนไปในยุคคสช.

ในช่วงเวลากึ่งทศวรรษของการปกครองโดย คสช. เป็นเวลาที่นานพอจะให้สังเกตเห็นความเปลี่ยนแปลงหลายๆ อย่าง เช่น เห็นอดีตหัวหน้าคณะรัฐประหารผู้เคยปฏิเสธว่า ตัวเอง “ไม่ใช่นักการเมือง” กลายเป็นนักการเมืองแบบเต็มขั้น เห็นระบบการเมืองที่หวนคืนไปสู่ระบบการเมืองแบบวันวาน เช่น การมี ส.ว.มาจากการแต่งตั้ง 100% หรือเห็นรัฐธรรมนูญที่ย้อนกลับไปกำหนดให้นายกไม่จำเป็นต้องมาจากการเลือกตั้ง เป็นต้น
69726628_10162417620195551_2463437745989615616_n
อ่าน

Change.NCPO กลุ่มดาวดิน จากนักศึกษาสู่คนทำงานกับอุดมการณ์ที่ยังคงเดิม

ได้มีโอกาสมายืนตรงนี้ (อนุสาวรีย์ประชาธิปไตยขอนแก่น) อีกครั้งก็คิดถึงตอนที่ยังเคลื่อนไหวในฐานะนักศึกษา จริงๆแล้วเราเคลื่อนไหวตรงนี้มานานแล้วตั้งแต่ก่อนรัฐประหาร อย่างตอนที่ทำกิจกรรมช่วงที่ กปปส.
-'ชุมนุมเกินห้าคน'--
อ่าน

ศาลทยอยยกฟ้อง คดี “ชุมนุมเกินห้าคน” หลัง คสช. ยกเลิกคำสั่งห้าม “กลุ่มคนอยากเลือกตั้ง” ต้องสู้คดีข้อหาอื่นต่อไป

การชุมนุมทางการเมืองซึ่งเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชน กลายเป็นความผิดทางอาญาตั้งแต่ คสช. เข้ายึดอำนาจ ผ่านการออกประกาศ คสช. ฉบับที่ 7/2557 กำหนดให้ผู้ที่ฝ่าฝืนไปชุมนุมมีโทษจำคุกไม่เกิน 1 ปี และปรับไม่เกิน 20000 บาทด้วย และเกือบหนึ่งปีต่อมาพล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา หัวหน้า คสช. อาศัยอำนาจตามมาตรา 44 ออกคำสั่งหัวหน้า คสช. ฉบับที่ 3/2558 กำหนดห้ามการชุมนุมทางการเมืองเช่นเดียวกัน แต่กำหนดโทษทั้งจำคุกและปรับต่ำลงมาครึ่งหนึ่ง รวมทั้งเปิดช่องไว้ด้วยว่าหากเป็นการชุมนุมจะทำได้เมื่อได้รับอนุญาตจาก คสช. ต่อมาในวันที่ 11 ธันวาคม 2562 เมื่อมีการออกคำสั่งหัวหน้า คสช.
Kasit Piromya on Decentralization
อ่าน

กษิต ภิรมย์: กระจายอำนาจให้สำเร็จไม่ใช่แค่มีท้องถิ่น

หลายประเทศที่เป็นประชาธิปไตยการกระจายอำนาจประสบความสำเร็จ เพราะว่าได้โอนอำนาจต่างๆ ไม่ใช่แค่ในระดับส่วนกลางมาสู่ท้องถิ่น แต่ยังโอนอำนาจไปยังสมาคมวิชาชีพ โอนงานสังคมสงเคราะห์ให้กับองค์กรเอ็นจีโอ ซึ่งการโอนอำนาจไปส่วนต่างๆ คือการเชื่อมั่นว่าประชาชนจะสามารถจัดการตัวเองได้
tumbnail daodin
อ่าน

เรื่องของดาวดิน…ดาวที่ไม่อยากอยู่บนฟ้า

วันที่ 19 มิถุนายน 2558 นักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น (มข.) ทั้ง 7 คน ซึ่งเรียกตัวเองว่ากลุ่ม ‘ดาวดิน’ มีกำหนดให้ไปรายงานตัวที่สถานีตำรวจภูธรขอนแก่น หลังจากพวกเขาถูกจับข้อหาชุมนุมฝ่าฝืนประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ฉบับที่ 3/2558 เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคมที่ผ่านมา นักศึกษาทั้ง 7 คน ยืนยันว่า พวกเขาจะไม่ไปรายงานตัว และยินดีให้เจ้าหน้าที่มาจับตัวไปโดยไม่ขัดขืน นอกจากนี้ จะไม่มีการขอประกันตัวด้วย หากเจ้าหน้าที่จะปล่อยตัวจะต้องกระทำโดยไม่มีเงื่อนไขใดๆ ทั้งสิ้น ไอลอว์ชวนย้อนรอยขุดคุ้ยประวัติของกลุ่มดาวดิน ต
thumb
อ่าน

คิดเรื่อง “อารยะขัดขืน” ตาม “จิตสำนึก” แบบฉบับนักศึกษา “ดาวดิน”

วันที่ 19 มิถุนายน 2558 เป็นวันที่พนักงานสอบสวนสถานีตำรวจภูธรอำเภอเมืองจังหวัดขอนแก่น นัดให้นักศึกษากลุ่มดาวดิน 7 คนไปรายงานตัวเพื่อสอบปากคำในข้อหาชุมนุมทางการเมืองเกิน 5 คน ฝ่าฝืนประกาศหัวหน้าคสช.
18918492315_21c832ec77
อ่าน

7 นักศึกษาดาวดิน กับภูมิหลัง ทัศนคติ และ”จุดยืน”ที่ไม่เคยเปลี่ยน

ภาพนักศึกษานั่งคุกเข่าตากฝนกันไม่ให้ตำรวจเข้าไปทำร้ายผู้ชุมนุมที่ประท้วงคัดค้านเหมืองแร่ทองคำในจังหวัดเลย เมื่อวันที่ 8 กันยายน 2556 เป็นภาพได้ได้รับการส่งต่อไปในเว็บบอร์ด และเครือข่ายสังคมออนไลน์ต่างๆ มีคนจำนวนมากเข้ามาคอมเมนท์แสดงความชื่นชม นักศึกษาในภาพ คือนักศึกษากลุ่มดาวดาวดิน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นนักศึกษาคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น หลังการรัฐประหาร พฤษภาคม 2557 ปัญหาเรื่องผลกระทบของการ
IMG_3236
อ่าน

ลำดับเหตุการณ์+ประมวลภาพ กลุ่มประชาธิปไตยใหม่ 8 มิ.ย. 58

8 มิถุนายน 2558 พนักงานสอบสวน สภ.เมืองขอนแก่น นัด 7 นักศึกษากลุ่มดาวดินที่ฝ่าฝืนประกาศห้ามชุมนุมทางการเมืองเกิน 5 คน เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2558 เข้ารายงานตัว แต่กลุ่มดาวดินเห็นว่าการถูกจับกุมและดำเนินคดีดังกล่าวเป็นไปโดยไม่ชอบธรรม จึงประกาศจะอารยะขัดขืนต่อการจับกุมดำเนินคดี และจัดกิจกรรมที่บริเวณอนุสาวรีย์ประชาธิปไตยขอนแก่น แทนการเข้ารายงานตัว การจัดกิจกรรมครั้งนี้เป็นการรวมตัวกันของนักศึกษากลุ่มดาวดิน และชาวบ้านที่นักศึกษากลุ่มนี้เคยรวมการเคลื่อนไหวรณรงค์ด้วย เช่น ชาวบ้านวังสะพุง จ.เลย ซึ่งเป็นกลุ่มที่ได้รับผลกระทบจากเหมืองแร่ทองคำ ชาวบ้านนามูล-ดูนสาด จ.ขอนแก่