photo_6320818406936391969_y
อ่าน

ฟังสามเรื่องเล่า What Happened in #ม็อบ18พฤศจิกา65

  18 พฤศจิกายน 2565 ผู้ชุมนุมกลุ่ม #ราษฎรหยุดAPEC2022 นัดหมายชุมนุมที่ลานคนเมือง และจะเดินขบวนเป็นระยะทาง 8 กิโลเมตรไปยังศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ ซึ่งเป็นสถานที่จัดประชุมเอเปค แต่เมื่อเริ่มออกเดินในเวลาประมาณ 8.42 น.
51485508738_3fa098987a_k
อ่าน

“…ถ้าเด็ก 13 14 ที่ถูกพวกคุณวิ่งไล่ยิงไล่กระทืบเป็นลูกพวกคุณบ้าง จะรู้สึกยังไง” เสียงจากเบนท์ สมรภูมิดินแดง

ตั้งแต่เดือนสิงหาคม 2564 แยกดินแดงถูกขนานนามโดยใครหลายคนว่าเป็นสมรภูมิ พื้นที่ปะทะและประลองกำลังกันระหว่าง “ผู้ชุมนุมต่อต้านพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา” กับ “ตำรวจชุดคุมฝูงชน” บทสรุปของการปะทะเกือบทุกครั้งจบลงด้วยการสลายการชุมนุมโดยตำรวจ เริ่มต้นด้วยการเขย่าเส้นความอดทนของตำรวจด้วยการใช้ประทัดยักษ์ พลุ ระเบิดเพลิง หรือขวดแก้วตามแต่จะหยิบฉวยได้ปาใส่แนวคอนเทนเนอร์หลายครั้ง ด้วยแนวสิ่งกีดขวางและระยะห่างของตำรวจก็ยากที่จะทะลุทะลวงอุปกรณ์ป้องกันของฝ่ายรัฐที่มีทั้งโล่ ชุดเกราะ แต่ทุกครั้งจบด้วยแก๊สน้ำตา กระสุนยางและอุปกรณ์อื่นๆ ในความครอบครองของเจ้าหน้าที่ควบคุมฝูงชนที่ถูกประเคนคืนกลับมาในฐานะ “กา
51486290730_7cd6869307_o
อ่าน

นอกจาก แก๊สน้ำตา กระสุนยาง คฝ. และเยาวรุ่น แล้วมีอะไรอีก ที่สมรภูมิดินแดง?

การรวมตัวกันของกลุ่มผู้ชุมนุม “ทะลุแก๊ส” บริเวณแยกดินแดงได้ปรากฎภาพการปะทะกันระหว่างเยาวชนและเจ้าหน้าที่ตำรวจควบคุมฝูงชนครั้งแล้วครั้งเล่า โดยมีผู้ได้รับบาดเจ็บจากกระสุนยาง แก๊สน้ำตา ประชาชนที่อาศัยอยู่ในบริเวณนั้นต่างก็ได้รับผลกระทบทั้งในแง่ความปลอดภัยและการใช้ชีวิตประจำวัน จนภาพ “ความรุนแรง” กลายเป็นภาพจำของการชุมนุมในบริเวณนี้ อย่างไรก็ตามจากการลงพื้นที่ของผู้สังเกตการณ์สิ่งที่ได้พบเห็นไม่ได้มีเพียงความรุนแรง แต่ ณ สมรภูมิดินแดง ยังมีพ่อค้าแม่ค้ามาตั้งร้านขายของ มีเต็นท์ปฐมพยาบาล บางวันก็มีศิลปินมาเล่นดนตรีสร้างสีสันให้ผู้เข้าร่วมชุมนุม มีหลายมุมที่ไม่ต่างจากการพื้นที่ชุมนุมอื่นๆมากนัก
อ่าน

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ “ปฏิรูปประวัติศาสตร์ ไม่พอเห็นจะต้องปฏิวัติ”

วาระปฏิรูปวิชาประวัติศาสตร์ถูกยกให้เป็นวาระเร่งด่วนในการปฏิรูปการศึกษายุค คสช. นักวิชาการประวัติศาสตร์อย่าง ชาญวิทย์ เกษตรศิริ จะมาเล่าให้ฟังถึงปัญหาแบบเรียน อุปสรรคและความล้มเหลวของวิชาประวัติศาสตร์พร้อมเสนอแนะแบบเรียนประวัติศาสตร์ไทยที่ควรจะเป็น 
อ่าน

คุยกับชัชวาลย์ ทองดีเลิศ “เด็กบนดอยไม่จำเป็นต้องเรียนเหมือนกับเด็กกรุงเทพฯ”

iLaw สนทนากับ ชัชวาลย์ ทองดีเลิศ ครูการศึกษาทางเลือกที่โฮงเฮียนสืบสานภูมิปัญญาล้านนา เพื่อให้ความเห็นมุมมองของการศึกษาทางเลือกในวิกฤติการศึกษาปัจจุบัน ที่มองการศึกษาแค่การเดินเข้าเดินออกจากโรงเรียนเท่านั้น
Ajarn Taradol
อ่าน

คุยกับครูเรื่องปฏิรูปครู : จำนวนครูไม่ได้ขาด เงินเดือนไม่ได้น้อยเกินไป

เจาะประเด็นค่าตอบแทนครูและเงินประจำตำแหน่ง สถานการณ์ขาดแคลนครู ทำไมคนเรียนเก่งไม่อยากเป็นครู ระบบการผลิตครูปัจจุบันมีปัญหาอย่างไร การประเมินโรงเรียน 16 มาตรฐาน ส่งผลต่อระบบการศึกษาอย่างไร กับข้าราชการครูหนุ่มไฟแรงที่เต็มเปี่ยมด้วยจิตใจความเป็นครู
lomyong
อ่าน

อยากทำการศึกษาในระบบให้เป็นทางเลือกหนึ่ง

ประเด็นความตกต่ำของการศึกษาไทยเป็นที่ถกเถียงซ้ำแล้วซ้ำเล่า iLaw สนทนากับ ลำยอง เตียสกุล และ จิรพันธ์ สำเริงเรือง สองสาวใจดีจากเครือข่ายการศึกษาเพื่อเด็ก  งานนี้ทั้งสองจะสะท้อนมุมมองของภาคประชาชนต่อปัญหาการศึกษาและทางเลือกทางการศึกษาของประเทศไทย