the fundamental law of Senate
อ่าน

เปิดร่างกฎหมายลูก “ที่มา ส.ว.” ใช้ 20 กลุ่มอาชีพ “คัดเลือกกันเอง”

พ.ร.ป.ว่าด้วยการได้มาซึ่ง ส.ว. เป็นหนึ่งในกฎหมายลูกที่ กรธ. ต้องร่างให้เสร็จตามรัฐธรรมนูญที่ตนได้วางไว้ โดยเนื้อหาสาระของกฎหมายก็คือ การขยายบทบัญญัติรัฐธรรมนูญให้ชัดเจนขึ้น เช่น จำนวนและประเภทของกลุ่มอาชีพที่ให้ลงสมัคร หรือวิธีการคัดเลือกกันเองทั้งแบบภายในกลุ่มและข้ามกลุ่ม รวมถึงการกำหนดเงื่อนไขคัดกรองผู้ลงสมัคร
organic bill
อ่าน

ติดตามร่างกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ

ติดตามร่างกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ ทั้งเนื้อหาร่างกฎหมาย สรุปร่างกฎหมาย และสถานะกฎหมายล่าสุด
electoral bill
อ่าน

จับตากฎหมายลูก: พ.ร.ป.เลือกตั้งฯ ร่างแรกให้อำนาจ กกต. มากขึ้น แต่ไร้การถ่วงดุล

ร่าง พ.ร.ป.ว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เป็นหนึ่งในกฎหมายที่ กกต. ส่งร่างให้กับ กรธ. เมื่อ 19 กันยายน 2559 โดย สมชัย ศรีสุทธิยากร กกต. ให้คำอธิบายร่างกฎหมายอย่างกระชับๆ ว่า ฉบับ "4 ปฏิรูป" ปฏิรูปการรับสมัคร การหาเสียง การใช้สิทธิ และการประกาศผล
Political Party Act
อ่าน

ย้อนดูกฎหมายพรรคการเมืองไทย ตั้งพรรค ยุบพรรค กันอย่างไร?

กกต.ร่าง พ.ร.ป.พรรคการเมืองให้ กรธ.เตรียมแก้ไขในขั้นต่อไป โดยแนวคิดหลักในการร่างคือจะทำให้การจัดตั้งพรรคการเมืองทำได้ยากขึ้นและจะยุบพรรคอย่างไร ชวนย้อนไปดูเนื้อหา พ.ร.บ.พรรคการเมืองในอดีตว่าเป็นอย่างไร
Amend Additional Question
อ่าน

ที่มา-ที่ไป เจตนารมณ์คำถามพ่วงส.ว.เสนอชื่อนายกฯได้ไหม?

แม้ประชามติร่างรัฐธรรมนูญและคำถามพ่วงจะผ่านความเห็นชอบแล้ว แต่ยังเหลือขั้นตอนแก้ร่างรัฐธรรมนูญกับคำถามพ่วงให้สอดคล้องกัน การแก้ไขเพิ่มเติมที่ดูเหมือนจะง่ายถึงตอนนี้ไม่แน่แล้ว เมื่อ สนช.พยายามขยายความคำถามพ่วงเพื่อให้ ส.ว.ชุดแรกจาก คสช. มีสิทธิเสนอชื่อนายกฯ ได้ด้วย
guideline to amend the draft
อ่าน

4 แนวทาง กรธ.เตรียมแก้ร่างรัฐธรรมนูญให้ ส.ว.เลือกนายกฯ

เมื่อร่างรัฐธรรมนูญและคำถามพ่วงที่ให้ ส.ว.สามารถเลือกนายกฯ ผ่านการออกเสียงประชามติ ส่งผลให้ กรธ.ต้องแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญให้สอดคล้องกับคำถามพ่วง ซึ่งขนาดนี้มีการพูดถึงแนวทางการแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญถึงสี่แนวทาง
Magazine Cover
อ่าน

#ส่องประชามติ: ดูข้อความเท็จในเอกสารเผยแพร่ร่างรัฐธรรมนูญของภาครัฐ

ก่อนลงประชามติ กรธ. และ กกต. ต่างเร่งทำสรุปสาระสำคัญร่างรัฐธรรมนูญ ส่งให้ประชาชน แต่เอกสารต่างๆ กลับเน้นบอกเฉพาะข้อดีและตอบโต้จุดอ่อนที่กำลังถูกวิพากษ์วิจารณ์ ไม่ได้บอกสาระสำคัญที่ควรรู้ทั้งหมด บางส่วนมีการตีความเพิ่มเติมจากผู้จัดทำ บางส่วนเป็นข้อความเท็จ ส่งผลเสียต่อความชอบธรรมของกระบวนการประชามติ
military project
อ่าน

#ส่องประชามติ: คสช.ทุ่มทุกกลไกรัฐเผยแพร่ข้อดีร่างรัฐธรรมนูญ

ประชามติ 7 สิงหาคม 2559 ภาครัฐใช้กลไกต่างๆ ในการรณรงค์และเผยแพร่ร่างรัฐธรรมนูญแต่เพียงฝ่ายเดียว ซึ่งเนื้อหาในการเผยแพร่เป็นเพียงการพูดถึงข้อดีของร่างรัฐธรรมนูญ ขณะที่ พ.ร.บ.ประชามติฯ ให้การคุ้มครองการดำเนินการต่างๆ ของ กรธ.และภาคส่วนราชการต่างๆ ในการช่วยประชาสัมพันธ์ร่างรัฐธรรมนูญ
_thumb
อ่าน

ร่างรัฐธรรมนูญผ่านแล้ว มีหลายประเด็นต้องจับตาต่อ

เมื่อร่างรัฐธรรมนูญผ่านประชามติ ก็เปรียบเสมือนการ "เซ็นเช็คเปล่า" ให้กับรัฐบาล คสช. และ กรธ. เพื่อเขียนกฎกติกาต่างๆ ที่ต้องใช้ประกอบรัฐธรรมนูญ อย่างเช่น กฎหมายพรรคการเมือง ที่มาของสมาชิกวุฒิสภา ยุทธศาสตร์ชาติ กฎหมายการปฏิรูป ฯลฯ ดังนั้น ประชาชนผู้เป็นเจ้าของอำนาจตัวจริงควรต้องจับตาและมีส่วนร่วมในกระบวนการต่างๆ ให้ได้มากที่สุด
NCPO still in power
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: รัฐธรรมนูญผ่าน คสช.ยังอยู่ต่อเบื้องหน้าและเบื้องหลัง

แม้ว่าร่างรัฐธรรมนูญมีชัยจะผ่านการออกเสียงประชามติ ในเบื้องหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ยังจะอยู่กับเราอย่างน้อยก็ 15 เดือน และในเบื้องหลังบรรดาประกาศ/คำสั่ง และวุฒิสภาจากการแต่งตั้งโดย คสช.ยังอยู่หลังจากเลือกตั้ง