16 Year of Emergency
อ่าน

ชำแหละพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ 16 ปีภาคใต้ ต่อด้วยโควิดระบาด “ใช้ยาไม่ตรงกับโรค”

ในวาระครบรอบ 16 ปีการประกาศใช้ พ.ร.ก. ฉุกเฉินฯ วันที่ 15 กรกฎาคม 2564 กลุ่มสมาชิกรัฐสภาอาเซียนเพื่อสิทธิมนุษยชน มูลนิธิผสานวัฒนธรรม คณะกรรมการนักนิติศาสตร์สากล และ คณะกมธ.พัฒนาการเมืองฯ  จัดเสวนาออนไลน์ เพื่อพูดคุยเกี่ยวกับ พ.ร.ก. ฉุกเฉินฯ และหาทางออกที่ดีกว่าการใช้กฎหมายพิเศษ  
49207682106_422110e3c3_o
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ: สรุปการอภิปรายวันแรก ญัตติ “ตั้งกมธ. แก้รัฐธรรมนูญ”

11 ธันวาคม 2562 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรมีนัดพิจารณาญัตติด่วน เรื่องการตั้ง “คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเพื่อศึกษาหลักเกณฑ์และวิธีการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560” หรือเรียกสั้นๆ ว่า “กมธ.แก้รัฐธรรมนูญฯ” เพื่อศึกษาหลักเกณฑ์และวิธีการก่อนที่จะเดินไปสู่ขั้นตอนการแก้รัฐธรรมนูญต่อไป 
Walk-Out
อ่าน

พลังประชารัฐ ‘แพ้แล้วป่วน’ ขวางตั้ง กมธ. ศึกษาประกาศคำสั่ง คสช. ฝ่ายค้าน ‘ไม่ร่วม’ สองวัน ประชุมต่อไม่ได้

28 พฤศจิกายน 2562 ในการประชุมสภาผู้แทนราษฎรสมัยประชุมสามัญประจำปีครั้งที่สอง การประชุมครั้งที่ 9 ได้มีการประชุมในวาระ การลงคะแนน และนับคะแนนใหม่อีกครั้ง เพื่อขอตั้งคณะกรรมมาธิการวิสามัญวิสามัญศึกษาผลกระทบจากการประกาศและคำสั่งของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ และการใช้อำนาจของหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติตามมาตรา 44 ซึ่งฝ่ายค้านทำการวอร์คเอ้าท์ ทำให้ต้องเลื่อนการประชุมออกไป  
1
อ่าน

สนช. พิจารณาร่าง พ.ร.บ.ทรัพยากรน้ำ ยืดเยื้อ – พร้อมเพิ่มมาตราใหม่ระบุชัด ห้ามเก็บเงิน

ในยุคของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) มีความพยายามในการบริหารจัดการน้ำด้วยการใช้ ม.44 ออกคำสั่งหัวหน้า คสช. ที่ 46/2560 ตั้งสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (สทนช.) เป็นหน่วยงานขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี ทำหน้าที่เกี่ยวกับการบริการจัดการน้ำ และมีอํานาจจัดตั้งศูนย์เฉพาะกิจชั่วคราว และขอเจ้าหน้าที่ในส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐ มาปฏิบัติหน้าที่ได้ตามความจําเป็นและเหมาะสม รวมถึงการแก้ไขและพยายามผ่านร่างกฎหมายทรัพยากรน้ำ ทว่าเวลาผ่านมาเนิ่นนานนับปี ที่ประชุมก็ยังไม่มีมติผ่านร่างดังกล่าว เนื่องจากมีการถกเถียงและอภิปรายที่ยังไม่ลงตัว