party law
อ่าน

เลือกตั้ง 66: กฎหมายเลือกตั้งคลุมเครือ “คนนอกครอบงำ” เสี่ยงพรรคถูกยุบ

“คนนอกครอบงำพรรค” เป็นอีกหนึ่งข้อหาที่หลายพรรคการเมืองต้องเฝ้าระวังเป็นอย่างยิ่ง และมักถูกหยิบยกขึ้นมาเป็นข้อโจมตีทางการเมืองที่ปรากฎตามสื่ออยู่บ่อยครั้ง เพราะประเด็นนี้ยังคงมีช่องโหว่ในการตีความอยู่มาก แต่มีโทษหนักถึงขั้นยุบพรรค
Party Bill
อ่าน

ศาลรธน. เคาะ ร่างพ.ร.ป.พรรคการเมืองไม่ขัดรธน. นัดชี้ชะตากฎหมายเลือกตั้ง 30 พ.ย. 65

23 พ.ย. 2565 ศาลรัฐธรรมนูญมีมติ “เอกฉันท์” ร่างพ.ร.ป.พรรคการเมือง ไม่ขัดรัฐธรรมนูญ จาหเหตุที่ 77 ส.ว. ส่งเรื่องมา หลังจากนี้นายกฯ นำร่างกฎหมายขึ้นทูลเกล้าฯ เพื่อให้พระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธย ประกาศใช้เป็นกฎหมายต่อไป
legislative monitoring
อ่าน

จับตา! กฎหมายลูกเลือกตั้งส.ส.-พรรคการเมือง หลังรัฐสภาเคาะสูตรหาร 500

26-27 กรกฎาคม 2565 ที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา (ส.ส. + ส.ว.) มีนัดพิจารณาร่างกฎหมายสำคัญหลายฉบับ อาทิ ร่างพ.ร.ป.การเลือกตั้งส.ส. ร่างพ.ร.ป.พรรคการเมือง รวมถึงร่างกฎหมายใหม่ที่เป็นกฎหมายปฏิรูปประเทศ ได้แก่ ร่างพ.ร.บ.ว่าด้วยการปรับเป็นพินัย ร่างพ.ร.บ.การปฏิบัติราชการทางอิเล็กทรอนิกส์ ร่างพ.ร.บ.กำหนดระยะเวลาดำเนินงานในกระบวนการยุติธรรม
political parties bill
อ่าน

รัฐสภารับหลักการร่างพ.ร.ป.พรรคการเมืองจากครม.-พรรคร่วมรัฐบาล คว่ำร่างพรรคฝ่ายค้านเรียบทุกฉบับ

25 ก.พ. 2565 ที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภามีมติ “รับหลักการ” ร่างพ.ร.ป.พรรคการเมืองเพียงสามฉบับ คือร่างที่เสนอโดยครม. และร่างที่เสนอโดยส.ส.พรรคพลังประชารัฐสองฉบับ ขณะที่ร่างที่เสนอโดยส.ส.พรรคฝ่ายค้านสามฉบับ รัฐสภามีมติ “ไม่รับหลักการ” ทั้งหมด 
81 Political Parties in 2019 Election are New Registered Political Parties
อ่าน

เลือกตั้ง 62: 81 พรรคการเมืองในสนามเลือกตั้ง เกินครึ่งเป็นพรรคตั้งใหม่

ต้นปี 2562 มีพรรคการเมืองทั้งหมดจำนวน 106 พรรค พรรคที่ลงสู่สนามเลือกตั้ง 24 มีนาคม 2562 มีจำนวน 81 พรรค เกินครึ่งเป็นพรรคการเมืองตั้งใหม่ ซึ่งเป็นจำนวน 44 พรรค โดยมีพรรคตั้งใหม่เพียง 2 พรรคเท่านั้นที่ไม่ได้ลงสนามเลือกตั้ง ขณะที่มีพรรคการเมืองเดิมถึง 23 พรรคที่ไม่ส่งผู้สมัคร ส.ส. ลงสนามเลือกตั้งครั้งนี้สักคนเดียว  
Restriction of MP candidate
อ่าน

เลือกตั้ง 62: สมัคร ส.ส. ยุคนี้แสนลำบาก หาเสียงยากข้อจำกัดมากมาย

ผู้สมัคร ส.ส. ลงสนามเลือกตั้งในปี 2562 ต่างต้องเจอกับข้อจำกัดมากมายตามกฎหมายที่ คสช. เขียนขึ้น ทั้งการจัดตั้งพรรค การหาสมาชิกพรรคก่อนลงสนาม ระหว่างช่วงหาเสียงเลือกตั้งก็มีข้อห้ามใหม่ๆ ออกมาอีกมาก รวมทั้งแม้ชนะเลือกตั้งเข้าสู่สภาแล้ว ก็ไม่อาจทำงานได้ง่ายดายนัก
party disperse
อ่าน

เลือกตั้ง 62: หลักเกณฑ์ 21 ข้อ ที่อาจใช้สั่งยุบพรรคการเมือง

การเลือกตั้งที่จะเกิดขึ้นในวันที่ 24 มีนาคม 2562 เป็นไปตามกฎกติกาที่ คสช. วางไว้ หลักเกณฑ์อย่างหนึ่งที่พรรคการเมืองฝ่ายตรงข้ามกับ คสช. ล้วนหวาดกลัว คือ การ "ยุบพรรคการเมือง" ซึ่งมีกฎหมายหลายฉบับที่เขียนหลักเกณฑ์ไว้รวม 21 ข้อ รอให้ศาลรัฐธรรมนูญเป็นผู้ตัดสิน                  
44 overrule
อ่าน

เลือกตั้ง 62: คสช. ใช้ ม.44 อย่างน้อยสามครั้งเพื่อเปลี่ยนกติกาการเลือกตั้ง

รัฐธรรมนูญปี 2560 กำหนดให้การเลือกตั้งต้องเกิดขึ้นในปี 2562 และเพื่อให้การเลือกตั้งเป็นไปตามที่คสช. มุ่งหวังไว้ คสช. จึงขอเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการออกกฎหมายเกี่ยวกับการเลือกตั้ง โดยเฉพาะการใช้อำนาจตามมาตรา 44 ของรัฐธรรมนูญชั่วคราวฯ ปี 2557 ไปแก้กติกาเพื่อช่วยพรรคการเมืองบางพรรคหรือสร้างเงื่อนไขให้บางพรรค และล่าสุดคือ แก้การแบ่งเขตเลือกตั้งใหม่ตามความเห็น คสช. และรัฐบาล
IMG_6550-edited
อ่าน

นักวิชาการ-พรรคการเมือง เรียกร้อง ให้ กกต. ทำหน้าที่อย่างเป็นกลางไม่อยู่ภายใต้คสช.

เครือข่ายประชาชนเพื่อการเลือกตั้งที่เสรี เป็นธรรม และมีผลในทางปฏิบัติ (Free, Fair & Fruitful Election) หรือ FFFE จัดเวทีเสวนา เรียกร้องให้ กกต. เป็นกลาง สนับสนุนพรรคการเมือง ไม่อยู่ใต้อาณัติคสช. ชี้ กติกาการเลือกตั้งยังสุ่มเสี่ยงทำการเลือกตั้งไม่เสรีและเป็นธรรม ประกอบกับบทบาทของ คสช. ยังมีส่งผลต่อการเลือกตั้งและพรรคการเมือง
Prayut
อ่าน

คสช. ใช้มาตรา 44 ห้ามหาเสียงออนไลน์-ยกเลิกไพรมารี่โหวต

คสช. ใช้มาตรา 44 คลายล็อกพรรคการเมือง ออกคำสั่งหัวหน้า คสช. ที่ 13/2561 สาระสำคัญคือ ขยายกรอบเวลาให้พรรคการเมืองดำเนินงานธุรการของพรรค ยกเลิกระบบไพรมารีโหวตโดยให้คณะกรรมการสรรหาผู้สมัครรับเลือกตั้ง 11 คนมีอำนาจในการสรรหาแทน และห้ามไม่ให้มีการหาเสียงออนไลน์