Emergency Decree postponed Prevention of Torture Act's enforcement
อ่าน

ยังไม่เคาะ! ส.ส. ส่งเรื่องไปศาลรัฐธรรมนูญ วินิจฉัยปมพ.ร.ก.เลื่อนบังคับใช้พ.ร.บ.อุ้มหายฯ

28 ก.พ. 2566 ส.ส. 100 คน เข้าชื่อกันเสนอต่อประธานสภา เพื่อส่งเรื่องไปศาลรัฐธรรมนูญเพื่อให้วินิจฉัยว่า พ.ร.ก. เลื่อนบังคับใช้พ.ร.บ.อุ้มหายฯ นั้นไม่เป็นไปตามเงื่อนไขที่รัฐธรรมนูญ มาตรา 172 กำหนด
Emergency Decree postponed Prevention of Torture Act's enforcement
อ่าน

จับตาประชุมสภา นัดลงมติอนุมัติ พ.ร.ก.เลื่อนบังคับใช้ พ.ร.บ.ป้องกันทรมานอุ้มหายฯ

28 ก.พ. 2566 สภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา มีวาระพิจารณาอนุมัติพ.ร.ก. แก้ไขพ.ร.บ.ป้องกันทรมานอุ้มหายฯ ที่ครม. ออกมเพื่อการบังคับใช้พ.ร.บ.ป้องกันทรมานอุ้มหายฯ 4 มาตราที่เกี่ยวกับกลไกการป้องกันการทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหายออกไป
Act to prevent torture
อ่าน

สตช. ขอขยายเวลาบังคับใช้ พ.ร.บ.ป้องกันการทรมานและการอุ้มหายฯ เหตุงบประมาณ-บุคลากร ยังไม่พร้อม

พ.ร.บ.ป้องกันการทรมานและการอุ้มหายฯ พ.ศ.2565 จะมีผลบังคับใช้ 22 กุมภาพันธ์ 2566 แต่สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ทำหนังสือเสนอความเห็น ขอให้ขยายเวลาบังคับใช้กฎหมายดังกล่าว เฉพาะหมวด 3 การป้องกันการทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย เหตุบุคลากร-งบประมาณยังไม่พร้อม
enforced disappearance
อ่าน

4 ปี แล้วยังไม่พบศพสุรชัย แซ่ด่าน

ป้าน้อย ภรรยาของสุรชัย แซ่ด่าน นักเคลื่อนไหวที่ลี้ภัยทางการเมืองไปยังประเทศเพื่อนบ้านในปี 57 หลังจากนั้นมีข่าวการหายตัวไปของทั้งสุรชัย ภูชนะ และกาสะลอง ก่อนจะพบศพสหายทั้งสองคนถูกมัดใส่กระสอบลอยมาที่ริมน้ำโขง ส่วนร่างของสุรชัยนั้นผ่านมากว่า 4 ปี แล้ว ก็ยังหาร่างไม่พบ
Parliament approved draft torture-enforced disappearance law
อ่าน

หยุดลอยนวลพ้นผิด! สภาลงมติวาระสองและสาม ผ่านพ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามการทรมาน ส่งให้ส.ว.พิจารณาต่อ

23 กุมภาพันธ์ 2565 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรมีมติในวาระที่สองและสาม เห็นชอบกับร่างพ.ร.บ. ป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. … ที่คณะกรรมาธิการแก้ไข โดยลำดับต่อไป ร่างกฎหมายก็จะถูกส่งไปให้วุฒิสภาพิจารณา ก่อนจะทูลเกล้าให้ลงพระปรมาภิไธยเพื่อประกาศใช้อย่างเป็นทางการในพระราชกิจจานุเบกษา
Somchai to Wanchalerm
อ่าน

จากคดี “ทนายสมชาย” ถึงอุ้มหายวันเฉลิม จะเอาผิดคนร้ายในไทยได้ต้องแก้กฎหมายก่อน

ตัวอย่างจากคดีการหายตัวของทนายสมชาย ที่เอาผิดกับคนทำไม่ได้ ช่วยให้เราเรียนรู้ช่องโหว่ของกฎหมายสำหรับการอุ้มหายที่เกิดขึ้น 16 ปีให้หลัง กรณีของวันเฉลิมเหตุเกิดที่ต่างประเทศ แม้กฎหมายไทยเปิดช่องให้เอาผิดในไทยได้ แต่ปัญหาอยู่ที่ "ผู้เสียหาย" ที่จะเป็นคนริเริ่มคดี
Know that Billy isn't missing but the law has a loophole
อ่าน

รู้แล้วว่า ‘บิลลี่’ ไม่ได้หาย แต่ ‘กฎหมาย’ ยังมีช่องโหว่ พ.ร.บ.ยังไม่โผล่สักที

ดีเอสไอ แถลงต่อสาธารณะว่า บิลลี่ได้เสียชีวิตแล้ว ซึ่งเป็นเพียงหนึ่งใน 86 ราย ที่ถูกบังคับให้สูญหายในรอบ 28 ปี และแม้ว่าไทยจะเป็นภาคีในอนุสัญญาเรื่องคนหาย แต่ยังไม่มีการออกกฎหมายมาคุ้มครองและปกป้องสิทธิของประชาชน มีแต่เพียงร่างพ.ร.บ.ที่เสนอและตกไปเท่านั้น