รวมกันเราอยู่ แยกหมู่กันเราเป็น สว. : แกะรอยคะแนน 8 จังหวัดนำในรอบเลือกกันเอง
อ่าน

รวมกันเราอยู่ แยกหมู่กันเราเป็น สว. : แกะรอยคะแนน 8 จังหวัดนำในรอบเลือกกันเอง

การเลือกสมาชิกวุฒิสภา (สว.) ระดับประเทศจบลงด้วยปรากฏการณ์ที่บางจังหวัดสามารถส่งผู้สมัครเป็น สว. ได้อย่างมากมาย โดยรูปแบบการลงคะแนนของผู้สมัครที่มาจากบางจังหวัดที่มีผู้เข้ารอบไขว้และเป็น สว. มากกว่าจังหวัดอื่นสามารถบอกอะไรเราได้หลายอย่าง
เปิดภาพ ผู้สมัคร #สว67 “กลุ่มเสื้อเหลือง สูทดำ” นั่งด้วยกัน กลับด้วยกัน ขึ้นรถทะเบียนบุรีรัมย์
อ่าน

เปิดภาพ ผู้สมัคร #สว67 “กลุ่มเสื้อเหลือง สูทดำ” นั่งด้วยกัน กลับด้วยกัน ขึ้นรถทะเบียนบุรีรัมย์

เปิดภาพถ่ายส่วนหนึ่งจากวันเลือกสว. ระดับประเทศที่อิมแพ็คฟอรั่ม เมืองทองธานี ซึ่งมีผู้สมัครจากทั่วประเทศเดินทางมาเลือกกันในรอบสุดท้าย ผู้สังเกตการณ์พบว่ามีผู้สมัครหลักร้อยคนที่แต่งตัวเหมือนกัน คือ ใส่เสื้อสีเหลืองที่เป็นเฉดสดกว่าเสื้อสีเหลืองปกติและเป็นเสื้อที่ใหม่มาก พร้อมสูทเรียบๆสีดำ และถือแฟ้มเอกสารลักษณะเดียวกัน
ส่องผู้สมัคร สว.ระดับประเทศ: ผ่านด่านเลือกกันเอง ทะลุด่านเลือกไขว้ จังหวัดไหน เท่าไรบ้าง ?
อ่าน

ส่องผู้สมัคร สว.ระดับประเทศ: ผ่านด่านเลือกกันเอง ทะลุด่านเลือกไขว้ จังหวัดไหน เท่าไรบ้าง ?

การเลือก สว. ระดับประเทศ มีผู้ที่ผ่านรอบเลือกกันเอง ไปรอบเลือกไขว้ทั้งหมด 800 คน ชวนดูแต่ละจังหวัดมีผู้สมัครเท่าไรบ้าง
สว.67 ระดับประเทศ : กลุ่ม 15 ของคนมีอายุ-ข้าราชการ
อ่าน

สว.67 ระดับประเทศ : กลุ่ม 15 ของคนมีอายุ-ข้าราชการ

ระบบการเลือก สว. แบบแบ่งกลุ่มอาชีพที่ผสมรวมผู้ที่มีอัตลักษณ์หลากหลายไว้ด้วยกันทำให้ต้องมีบางกลุ่มที่อาจจะไม่มีตัวแทนเลยเนื่องจากมรจำนวนน้อยกว่า ในกรณีของกลุ่ม 15 เป็นที่ชัดเจนว่าจำนวนของผู้สมัครที่เห็นอายุของตนเองแล้วพบว่ามากประมาณหนึ่งมีจำนวนมากกว่ากลุ่มอัตลักษณ์อื่น ๆ อย่างมาก
สว.67 ระดับประเทศ: กลุ่ม 20 “อื่น ๆ” ที่ใครสมัครก็ได้
อ่าน

สว.67 ระดับประเทศ: กลุ่ม 20 “อื่น ๆ” ที่ใครสมัครก็ได้

ในบรรดา 20 กลุ่มอาชีพของการเลือกสมาชิกวุฒิสภา (สว.) ตามรัฐธรรมนูญ 2560 กลุ่ม 20 หรือกลุ่มอาชีพอื่น ๆ เป็นกลุ่มที่มีรายละเอียดไม่ชัดเจนมากที่สุด กลุ่มอื่น ๆ จึงกลายเป็นสถานที่ที่มีผู้สมัครหลายประเภท แต่ขาดความสมเหตุสมผลของการเป็นตัวแทนของกลุ่มอาชีพตามที่ควรจะเป็น
สรุปเรื่องที่ต้องรู้ก่อนศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาล้มเลือก สว.
อ่าน

สรุปเรื่องที่ต้องรู้ก่อนศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาล้มเลือก สว.

ศาลรัฐธรรมนูญมีกำหนดจะพิจารณาลงมติในวันที่ 18 มิถุนายน 2567 ว่ามาตรา 107 แห่งรัฐธรรมนูญ 2560 ขัดกับสี่มาตราในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ. 2561 (พ.ร.ป. สว.ฯ) หรือไม่
เลือก สว. สตูล: การแข่งของม้าสองตัวที่ “ทิ้งโด่ง” ในรอบไขว้
อ่าน

เลือก สว. สตูล: การแข่งของม้าสองตัวที่ “ทิ้งโด่ง” ในรอบไขว้

ในจังหวัดสตูล เมื่อการเลือก สว. เดินทางมาถึงในรอบไขว้เพื่อผู้ที่ได้คะแนนสูงสุดสองลำดับให้เข้าไปในการเลือกระดับประเทศ พบว่าในบางสายบางกลุ่ม มีผู้สมัครที่ “ทิ้งโด่ง” กล่าวคือ ได้รับการเทคะแนนให้เพียงสองคนจนทำให้ได้รับเลือกไปอย่างไม่ยากเย็นนัก
ชวนผู้สมัครสว. ที่เข้ารอบระดับจังหวัดมา “แนะนำตัวให้ทั่วกัน” ในพื้นที่เปิดเผย
อ่าน

ชวนผู้สมัครสว. ที่เข้ารอบระดับจังหวัดมา “แนะนำตัวให้ทั่วกัน” ในพื้นที่เปิดเผย

ขอเชิญชวนผู้สมัครสว. ใช้พื้นที่กลางที่เป็นพื้นที่เปิดในการทำความรู้จักแนะนำตัวซึ่งกันและกัน โดยเปิดเผยต่อสาธารณะ ในช่วงระหว่างวันที่ 13-15 มิถุนายน 2567 ตามจังหวัดต่างๆ
พบผู้สมัคร สว. ถูก กกต. ตัดสิทธิ แม้ลาออกจากพรรคก่อน กกต. ต้องแก้ไขปัญหาระบบฐานข้อมูล
อ่าน

พบผู้สมัคร สว. ถูก กกต. ตัดสิทธิ แม้ลาออกจากพรรคก่อน กกต. ต้องแก้ไขปัญหาระบบฐานข้อมูล

29 พฤษภาคม 2567 คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) เผยแพร่รายชื่อผู้สมัครสมาชิกกวุฒิสภาที่ผ่านการตรวจสอบคุณสมบัติและลักษณะต้องห้าม อย่างไรก็ดี พบว่ามีผู้สมัคร สว. หลายคนที่ลาออกจากการเป็นสมาชิกพรรคการเมืองก่อนยื่นใบสมัคร สว. แล้ว