“สมรภูมิดินแดง” เมื่อเด็กมาทวงคืนชีวิตด้วยการเผชิญหน้า
อ่าน

“สมรภูมิดินแดง” เมื่อเด็กมาทวงคืนชีวิตด้วยการเผชิญหน้า

แม้รูปแบบของการเคลื่อนไหวที่แยกดินแดง ผู้ชุมนุมไม่ได้ใช้เครื่องเสียง ไม่ได้ใช้ป้ายผ้า จึงไม่มีการสื่อสารถึง “ข้อเรียกร้อง” อย่างเป็นรูปธรรม แต่เมื่อได้ “ฟัง” พวกเขาบางคนก็พบว่า “สมรภูมิดินแดง” กลายเป็นพื้นที่ให้พวกเขาได้ระบายออกซึ่งความอัดอั้นจาผลกระทบที่กำลังเกิดขึ้นในวัยที่ควรจะมีโอกาสได้เรียนรู้และเติบโต และความรู้สึกสำคัญที่มีร่วมกัน คือ พวกเขาไม่วางใจในตัวพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชาอีกต่อไป
ตำรวจใช้กำลังทำ “ละเมิด” ต้องชดใช้ค่าเสียหาย ประชาชนฟ้อง “ต้นสังกัด” ได้เลย
อ่าน

ตำรวจใช้กำลังทำ “ละเมิด” ต้องชดใช้ค่าเสียหาย ประชาชนฟ้อง “ต้นสังกัด” ได้เลย

จากการสลายชุมนุมหรือวิธีควบคุมการชุมนุมของเจ้าหน้าที่ตำรวจ ผู้ชุมนุมต้องเผชิญกับการใช้กำลังของตำรวจทั้งด้วยปืนฉีดน้ำแรงดันสูง แก๊สน้ำตา จนถึงกระสุนยาง กฎหมายได้ออกแบบช่องทางเพื่อให้บุคคลที่ได้รับผลกระทบสามารถได้รับการเยียวยาผ่านทาง พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่  
ศาลสั่งตำรวจ ‘ใช้ความระมัดระวัง-ให้ส่งรายงานวิธีควบคุมการชุมนุม’ ไม่ได้ห้ามยิงกระสุนยาง .
อ่าน

ศาลสั่งตำรวจ ‘ใช้ความระมัดระวัง-ให้ส่งรายงานวิธีควบคุมการชุมนุม’ ไม่ได้ห้ามยิงกระสุนยาง .

สรุปความเคลื่อนไหวคดีที่สื่อมวลชนเป็นโจทก์ยื่นฟ้องสำนักงานตำรวจแห่งชาติและพวก จากกรณีได้รับบาดเจ็บจากการถูกยิงด้วยกระสุนยางของเจ้าหน้าที่ตำรวจในการสลายชุมนุม #ม็อบ18กรกฎา พร้อมยื่นคำร้องขอคุ้มครองชั่วคราว และคำร้องขอให้ศาลมีคำสั่งไต่สวนโดยฉุกเฉิน สั่งคุ้มครองไม่ให้ตำรวจใช้กระสุนยางในลักษณะนี้อีก   
สรุปคำฟ้อง สื่อมวลชนร้องศาลห้ามตำรวจยิงกระสุนยาง งดใช้ความรุนแรงในพื้นที่ชุมนุม
อ่าน

สรุปคำฟ้อง สื่อมวลชนร้องศาลห้ามตำรวจยิงกระสุนยาง งดใช้ความรุนแรงในพื้นที่ชุมนุม

ภาคีนักกฎหมายสิทธิมนุษยชนระบุว่าขณะนี้มีคดีที่สื่อมวลชนที่ได้รับผลกระทบเป็นโจทก์ฟ้องเจ้าหน้าที่รัฐจากการใช้กระสุนยาง จำนวน 2 คดี คือ จากเหตุการณ์การสลายการชุมนุม #ม็อบ20มีนา และ #ม็อบ18กรกฎา โดยทั้งสองคดีนั้น มีคำขอให้ศาลสั่งห้ามเจ้าหน้าที่ตำรวจใช้ความรุนแรงในการสลายการชุมนุม  
เปิดคำเบิกความพยานผู้เชี่ยวชาญ “มาตรการไม่เลือกปฏิบัติต่อสื่อ – กฎการใช้กระสุนยาง”
อ่าน

เปิดคำเบิกความพยานผู้เชี่ยวชาญ “มาตรการไม่เลือกปฏิบัติต่อสื่อ – กฎการใช้กระสุนยาง”

ดร.พัชร์ นิยมศิลป ให้ความเห็นในฐานะพยานผู้เชี่ยวชาญที่จะมาเบิกความประกอบการไต่สวนเพื่อขอคุ้มครองชั่วคราว คดีสื่อมวลชนถูกยิงด้วยกระสุนยางจากการสลายการชุมนุมของเจ้าหน้าที่ตำรวจ 
เสียงจากนักเรียนนายร้อยตำรวจ ในวันที่ความฝันพังทลาย
อ่าน

เสียงจากนักเรียนนายร้อยตำรวจ ในวันที่ความฝันพังทลาย

ในสภาวะที่สถาบันตำรวจต้องเผชิญกับการเปลี่ยนผ่านและแรงกดดันจากสังคม เราชวน “เอก” ข้าราชการตำรวจ มาพูดคุยถึงความฝัน  ความเห็นต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในโรงเรียนนายร้อยตำรวจ และมุมมองของเขาในฐานะตำรวจรุ่นใหม่ที่มีต่อสถาบันตำรวจท่ามกลางความขัดแย้งทางการเมืองในปัจจุบัน
หมู่บ้านทะลุฟ้า: เมื่อสลายการชุมนุมไม่ชอบธรรมประชาชนจึงต้องอารยะขัดขืน
อ่าน

หมู่บ้านทะลุฟ้า: เมื่อสลายการชุมนุมไม่ชอบธรรมประชาชนจึงต้องอารยะขัดขืน

28 มีนาคม 2564  เวลา 05.57 น. ตำรวจควบคุมฝูงชนนำกำลังเข้าสลายการชุมนุม #หมู่บ้านทะลุฟ้าV2 ที่ถนนพระราม 5 ข้างศาลกรมหลวงชุมพรฯ เหตุในการสลายการชุมนุมจึงไม่ชอบธรรมและไม่เป็นไปตามหลักความได้สัดส่วน
ประมวลการสลายการชุมนุมรีเด็ม #จำกัดอำนาจสถาบันกษัตริย์
อ่าน

ประมวลการสลายการชุมนุมรีเด็ม #จำกัดอำนาจสถาบันกษัตริย์

ประมวลเหตุการณ์การสลายการชุมนุม #จำกัดอำนาจสถาบันกษัตริย์ #REDEM เมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2564 บริเวณสนามหลวง
การสลายการชุมนุมและการประกอบสร้างความรุนแรง
อ่าน

การสลายการชุมนุมและการประกอบสร้างความรุนแรง

1 มกราคม- 15 มีนาคม 2564 มีการชุมนุมเกิดขึ้นไม่น้อยกว่า 160 ครั้ง   โดยวัตถุประสงค์ส่วนใหญ่คือ การเรียกร้องเรื่องการปล่อยตัวนักกิจกรรมทางเมืองและประเด็นที่เกี่ยวข้องกับโควิด 19 
การไต่ระดับความโกรธและการเผชิญหน้าของผู้ชุมนุมราษฎรและรัฐ
อ่าน

การไต่ระดับความโกรธและการเผชิญหน้าของผู้ชุมนุมราษฎรและรัฐ

ย้อนดูปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในการชุมนุมในปี 2564 ที่มาที่ไปแห่งความโกรธและการตอบโต้ที่เกิดขึ้นในการชุมนุม