รด.ไม่ช่วยอะไร เมื่อเจอกฎหมายกำลังพลสำรอง
อ่าน

รด.ไม่ช่วยอะไร เมื่อเจอกฎหมายกำลังพลสำรอง

สนช.ร่าง พ.ร.บ.กำลังพลสำรอง โดยเนื้อหาให้ทหารกองหนุน กลับมาฝึกวิชาทหารอีกครั้งพื่อการเตรียมความพร้อมในกิจการของกระทรวงกลาโหม โดยหากฝ่าฝืนไม่เข้ารับราชการทหารมีโทษสูงสุดติดคุกสี่ปี ในส่วนของนายจ้างหากไม่จ่ายค่าจ้างให้ลูกจ้างซึ่งต้องรับราชการทหารในวันลามีโทษปรับสองหมื่นบาท
ร่างกฎหมายใหม่ คุมเข้ม “ธุรกิจรักษาความปลอดภัย” ต้องจบม.3, ต่างด้าว-เคยทำผิดทางเพศ ห้ามเป็นรปภ.
อ่าน

ร่างกฎหมายใหม่ คุมเข้ม “ธุรกิจรักษาความปลอดภัย” ต้องจบม.3, ต่างด้าว-เคยทำผิดทางเพศ ห้ามเป็นรปภ.

ร่าง พ.ร.บ.ธุรกิจรักษาความปลอดภัย ได้ผ่านการพิจารณาของ สนช. ไปเมื่อวันที่ 6 สิงหาคม โดยมีสาระสำคัญ คือการกำหนดมาตรฐานของธุรกิจรักษาความปลอดภัย และมาตรฐานของพนักงานรักษาความปลอดภัยให้มีความชัดเจนและเข้มงวดมากขึ้น
สนช.กับการเห็นชอบบุคคลให้ดำรงตำแหน่งในองค์กรของรัฐ
อ่าน

สนช.กับการเห็นชอบบุคคลให้ดำรงตำแหน่งในองค์กรของรัฐ

นอกจากพิจารณาร่างกฎหมาย สนช.ยังทำหน้าที่แต่งตั้ง/ถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองหรือผู้บริหารระดับสูงของรัฐ สำหรับการแต่งตั้ง ปัจจุบัน สนช.ให้ความเห็นชอบผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรต่างๆ ไปแล้วจำนวนมากมีองค์กรอะไร? และใครได้รับตำแหน่งบ้าง?
แก้ไข ป.แพ่งฯ เรื่องค้ำประกันจำนอง 1 : คุ้มครองผู้ค้ำประกันและผู้จำนอง แต่เศรษฐกิจอาจพังครืน
อ่าน

แก้ไข ป.แพ่งฯ เรื่องค้ำประกันจำนอง 1 : คุ้มครองผู้ค้ำประกันและผู้จำนอง แต่เศรษฐกิจอาจพังครืน

สนช.แก้ไขร่างประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ เรื่องการค้ำประกันจำนอง ประเด็นสำคัญคือคุ้มครองสิทธิและให้ความเป็นธรรมแก่ผู้ค้ำประกันและผู้จำนองที่ต้องชำระหนี้แทนลูกหนี้ แม้กฎหมายนี้จะมีผลบังคับใช้แต่ด้วยกระแสกดดันจากธนาคารทำให้ สนช.ต้องนำมาแก้ไขอีกรอบหนึ่ง 
แก้ไข ป.แพ่งฯ เรื่องค้ำประกันจำนอง 2 : ให้สถาบันการเงินเป็นลูกหนี้ร่วมได้
อ่าน

แก้ไข ป.แพ่งฯ เรื่องค้ำประกันจำนอง 2 : ให้สถาบันการเงินเป็นลูกหนี้ร่วมได้

เสียงกดดันจากธนาคารพาณิชย์ส่งผลให้ สนช.ต้องนำประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ เรื่องการค้ำประกันจำนอง มาแก้ไขใหม่ ทั้งที่กฎหมายยังไม่ทันบังคับใช้ โดยประเด็นสำคัญคือการแก้ไขให้ธนาคารพาณิชย์สามารถเป็นลูกหนี้ร่วมได้
กฎหมายหอพัก: เป็นหูเป็นตาให้รัฐเพื่อแลกสิทธิประโยชน์
อ่าน

กฎหมายหอพัก: เป็นหูเป็นตาให้รัฐเพื่อแลกสิทธิประโยชน์

คุณพ่อคุณแม่อาจจะสบายใจขึ้น เมื่อแก้ไขกฎหมายหอพักให้มีการจัดการหอพักอย่างรัดกุมและเคร่งครัด แถมผู้ประกอบการยังยิ้มได้ เพราะหากทำตามที่รัฐขอก็อาจจะได้สิทธิประโยชน์ทางภาษีและอื่นๆ อีก เรียกได้ว่า เด็กๆ จะมีผู้ช่วยปกครองอยู่ด้วยภายในหอ
แก้ไข ‘ป.วิแพ่ง’ อาจตัดสิทธิประชาชน อุทธรณ์-ฎีกา
อ่าน

แก้ไข ‘ป.วิแพ่ง’ อาจตัดสิทธิประชาชน อุทธรณ์-ฎีกา

ปัจจุบันการยื่นคดีต่อศาลฎีกาเป็นระบบสิทธิ ซึ่งจะช่วยคุ้มครองคู่ความให้ได้รับความยุติธรรมโดยมีการตรวจสอบถึงสามชั้นศาล สำหรับการแก้ไข "ป.วิแพ่ง" เป็นระบบอนุญาตจะแก้ปัญหาเรื่องภาระคดีจำนวนมากที่จะต้องขึ้นศาลฎีกา การเปลี่ยนแปลงนี้อาจทำให้การตรวจสอบลดลง ดังนั้นการคุ้มครองสิทธิของประชาชนอาจได้รับผลกระทบ
หมายศาลก็ยังไม่พอ!: ต่อประเด็นถกเถียง “ชุดกฎหมายความมั่นคงดิจิทัล”
อ่าน

หมายศาลก็ยังไม่พอ!: ต่อประเด็นถกเถียง “ชุดกฎหมายความมั่นคงดิจิทัล”

กระแสคัดค้าน "ชุดกฎหมายความมั่นคงดิจิทัล" ทำให้ผู้ร่างกฎหมายยืนยันว่าจะมีการแก้ไข และยังย้ำว่าร่างกฎหมายนี้จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องออกในช่วงเวลานี้ ต่อประเด็นข้างต้น iLaw จึงขอนำประเด็นถกเถียงที่เกิดขึ้นมาตอบ เพื่อสร้างข้อถกเถียงใหม่ที่จะเป็นประโยชน์ต่ออนาคตของ "ชุดกฎหมายความมั่งคงดิจิทัล" ต่อไป
19 ประเด็นสำคัญที่เปลี่ยนแปลงในร่าง พ.ร.บ.คุ้มครอง Privacy (ฉบับความมั่นคงดิจิทัล)
อ่าน

19 ประเด็นสำคัญที่เปลี่ยนแปลงในร่าง พ.ร.บ.คุ้มครอง Privacy (ฉบับความมั่นคงดิจิทัล)

ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ถูกเสนอสู่สนช.แล้วครั้งหนึ่ง แต่ถูกเสนอซ้ำอีกครั้งในชุด "กฎหมายความมั่นคงดิจิทัล" ซึ่งมีเนื้อหาเปลี่ยนไปมาก ใช้หลัก "แจ้งให้ทราบ" เมื่อเก็บข้อมูล โดยไม่ต้องขอความยินยอม ย้ายงานข้อมูลส่วนบุคคลมาอยู่ใต้สำนักงานความมั่นคงไซเบอร์ฯ
iLaw ขอสรุปผลงาน สนช. ปี 2557
อ่าน

iLaw ขอสรุปผลงาน สนช. ปี 2557

ผลงานในปี 2557 ของ สนช. มีการพิจารณาร่างกฎหมายถึง 97 ฉบับ มีการลงมติผ่านกฎหมายแล้ว 47 ฉบับ โดยมีสมาชิกเข้าร่วมประชุมเฉลี่ย 176 คนต่อครั้ง จากจำนวนสมาชิกทั้งหมด 220 คน สนช.เห็นชอบข้อตกลงระหว่างประเทศ 5 ฉบับ พิจารณาแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่ง 3 คน และพิจารณาเรื่องถอดถอนบุคคลออกจาตำแหน่ง 4 เรื่อง ขณะที่นอกสภาภาคประชาชนก็พยายามส่งเสียงเรียกร้องต่างๆ